5. O เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ
O ๑. ก ก
O ๒. ค ค
O ๓. ง ง
O ๔. จ จ
O ๕. ช ฉ ช ฌ
O ๖. ซ ซ ศ ษ ส
O ๗. ด ฎ ด
O ๘. ต ฏ ต
O ๙. ท ฐ ฑ ฒ ท ถ ธ
O ๑๐.น ณ น
เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ
๑๑. บ บ
๑๒.ป ป
๑๓. พ ผ พ ภ
๑๔. ฟ ฝ ฟ
๑๕. ม ม
๑๖. ย ญ ย
๑๗. ร ร
๑๘. ล ล ฬ
๑๙. ว ว
๒๐. ฮ ห ฮ
๒๑..อ อ
7. เสียงสระ
O เสียงสระเดี่ยว
O อะ อา อิ อี อึ อือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ
เอาะ ออ เอือะ เออ
O เสียงสระประสม
O เอีย (อี-อา) เอือ (อือ-อา) อัว (อู-อา)
O ข้อสังเกต เสียงสระออกเสียงได้ยาวนานกว่าเสียง
พยัญชนะ
O สระบางตัวจะมีการออกเสียงต่างจากรูป เช่น น้้า
ความ
8. เสียงวรรณยุกต์
O วรรณยุกต์ระดับ คือ วรรณยุกต์ที่มีเสียงค่อนข้างคงที่ตลอด
พยางค์
O สามัญ เอก ตรี
O วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ คือ วรรณยุกต์ที่มีเสียงเปลี่ยนแปลง
มากระหว่างต้นพยางค์กับท้ายพยางค์
O โท จัตวา
ข้อสังเกต เสียงวรรณยุกต์ช่วยบอกความหมายของค้า แต่
บางครั้งเสียงวรรณยุกต์ที่เปลี่ยนไปตามอารมณ์ของผู้พูดก็
มิได้ท้าให้ความหมายของค้านั้นเปลี่ยนไป
10. เสียงหนักเบา
O คาที่พูดเป็นคาพยางค์เดียว และเป็นคาสาคัญในประโยค จะลงเสียงหนัก
O เมื่อต้องการเน้นคาบางคาเป็นพิเศษ จะลงเสียงหนัก
O ต้องการเน้นคาพูดเป็นพิเศษอาจลงเสียงหนักทุกพยางค์หรือทุกคา
O คานามเมื่อใช้เป็นคาเรียกผู้อื่น มักลงเสียงหนัก
O คาซ้าที่เน้นความหมายว่ามากขึ้น ลงเสียงหนักและยาวที่พยางค์หน้า
O คาที่เป็นคาประสม คาซ้อน ๒ พยางค์ อาจจะลงเสียงหนักที่พยางค์ที่ ๒ หรืออาจจะลงเสียง
หนักทั้ง ๒ พยางค์ก็ได้
O คาที่มีมากกว่า ๒ พยางค์ มักลงน้าหนักที่พยางค์สุดท้าย
O เมื่อนาคามาประกอบเป็นประโยคถ้าลงน้าหนักที่คาต่างกัน ความหมายของประโยคอาจ
เปลี่ยนไป