ݺߣ
Submit Search
การสื่อสารพื่อกิจธุระ
•
1 like
•
15,058 views
K
kingkarn somchit
Follow
ภาษาไทย ม.4
Read less
Read more
1 of 13
Download now
Downloaded 31 times
More Related Content
การสื่อสารพื่อกิจธุระ
1.
ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์ การสื่อสารพื่อกิจธุระ วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๔
2.
กิจธุระ หมายถึง การงานที่ประกอบ เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินชีวิต
อาจ ไม่เกี่ยวกับการขาดทุนหรือได้กาไร (กิจธุระ ไม่ใช่ ธุรกิจ) ความหมาย ของ กิจธุระ
3.
๑. มีความรู้ความเข้าใจเรื่องราวของกิจธุระที่จะส่งอย่าง ชัดเจน ๒. ส่งสารได้ตรงประเด็น ๓.
ลาดับเรื่องราวของกิจธุระให้เข้าใจง่าย ๔. ให้รายละเอียดเพียงพอ ๕. ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับเพศ วัย พื้นฐาน ประสบการณ์ และความพร้อมของผู้รับสาร ๖.มีความตั้งใจ สนใจ และพยายามเข้าใจสารที่ได้รับ ๗. มีความพยายามทบทวนให้เข้าใจตรงกันระหว่างผู้ส่ง สารกับผู้รับสาร การสื่อสารพื่อกิจธุระ ผู้ส่งสารต้องปฏิบัติดังนี้
4.
ความรู้ของผู้ส่งสาร เป็นความสาคัญอันดับแรกซึ่ง จะทาให้สารที่ส่งไปได้ผล ถ้าส่งสารได้ไม่ชัดเจน
ให้ รายละเอียดไม่เพียงพอหรือแสดงความไม่แน่ใจ จะ ทาให้ผู้ฟังไม่เชื่อถือ นอกจากความรู้ของผู้ส่งแล้ว ก่อนที่จะส่งสารควร จะต้องคิดให้กระจ่างเสียก่อน เพื่อความชัดเจน ไม่ ขัดแย้งกันเอง ความรู้ความเข้าใจของผู้ส่งสารสาคัญอย่างไร
5.
ผู้ส่งสารควรกล่าวแต่เฉพาะประเด็นสาคัญ เท่านั้น ไม่ควรแทรกเรื่องอื่นๆที่ไม่จาเป็นเข้า ไป เพราะจะทาให้ผู้รับสารสับสน การส่งสารให้ตรงประเด็นจาเป็นอย่างไร
6.
การเล่าเรื่องไม่เป็นลาดับ เล่าสลับสับสนตามแต่จะ นึกได้ ทาให้ผู้รับสารฟังตามหรืออ่านตามไม่เข้าใจ จึงควรเล่าเรื่องให้มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกันไป โดยตลอด
อาจเรียบเรียงตามลาดับเหตุการณ์ เหตุผล ระยะทาง หรือความสาคัญก็ได้ หากเรื่องมีลาดับขั้นตอนควรแบ่งเป็นข้อๆ มีเลข หมายประจาข้อและอาจแสดงภาพประกอบ ขั้นตอนการปฏิบัติไว้ด้วย การลาดับความในสารสาคัญอย่างไร
7.
รายละเอียดของสารที่จะส่งก็มีความสาคัญ เพราะจะทาให้เกิดความชัดเจน ปฏิบัติตามได้ ถูกต้องตรงตามความต้องการของผู้ส่งสาร รายละเอียดของสารมีความจาเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในสารที่เป็นการสื่อสารทางเดียว เช่น การเขียนประกาศ
การเขียนจดหมาย รายละเอียดของสารที่จะส่งควรมากหรือ น้อยอย่างไร
8.
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารนั้นอาจใช้ท่าทาง เครื่องหมาย หรืออาณัติสัญญาณ แต่ที่สาคัญที่สุด คือคาพูด
คาพูดที่ใช้ควรเหมาะแก่เพศ วัย ภูมิหลัง และประสบการณ์ของผู้รับสาร ควรใช้ภาษาที่เรียบง่าย ไม่ใช้ประโยคซับซ้อนเข้าใจ ยาก ประโยคกากวมตีความได้หลายอย่าง ประโยคคาสั่งก็ควรนุ่มนวล ไม่สื่อความไปในเชิง บังคับให้กระทา ภาษาที่ใช้สื่อสารควรระมัดระวังอย่างไร
9.
แม้ผู้ส่งสารจะพยายามส่งสารอย่างชัดเจน เพียงใด ถ้าผู้รับสารไม่สนใจและไม่ตั้งใจที่จะ รับสาร การสื่อสารจะไม่สัมฤทธิ์ผล ผู้รับสารที่สนใจและตั้งใจรับสารย่อมพยายาม จับประเด็นให้ได้
ไม่มีอคติ และมีความอดทน ตามสมควร ไม่คาดเดาล่วงหน้าว่าผู้พูดจะพูด อะไรต่อไป และไม่คอยแต่จะโต้แย้ง ถ้ามีข้อ สงสัยอาจบันทึกไว้สั้นๆ ความสนใจและความตั้งใจของผู้รับสาร ควรคานึงถึงอย่างไร
10.
ผู้รับสารและผู้รับสารมีโอกาสจะเข้าใจไม่ ตรงกันด้วยสาเหตุต่างๆกัน เช่น มีภูมิหลัง ต่างกัน
มีความสนใจไม่เหมือนกัน และขณะที่ พูดอาจคิดไปถึงเรื่องที่ต่างกัน เพราะฉะนั้น เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดจึงควรมีการทบทวน สารให้เข้าใจตรงกัน การทบทวนให้เข้าใจตรงกันจาเป็นอย่างไร
11.
ควรเปล่งเสียงให้ค่อนข้างช้าและชัดเจนยิ่งกว่าการพูด ตามปกติ ใช้เวลาอย่างประหยัด ควรคานึงถึงมารยาทและกาลเทศะ เช่น ผู้น้อยควรกล่าว ขออภัยเมื่อโทรศัพท์ไปหาผู้ใหญ่
หรือโทรศัพท์ในช่วงเวลาที่ เหมาะสม และ ก่อนวางหูโทรศัพท์ควรกล่าวถ้อยคาให้อีก ฝ่ายรู้ตัวก่อน ผู้ที่เป็นฝ่ายโทรศัพท์ไปไม่ควรเริ่มด้วยคาถามว่า “นั่นที่ไหน คะ” หรือ “นั่นที่ไหนครับ” ไม่ใช้คาว่า “ขอสาย เรียนสาย” ควรใช้ว่า “ขอพูด” หรือ หากมีกิจธุระก็ใช้ “เรียนถาม” ก็ได้ การใช้โทรศัพท์
12.
ผู้ใช้โทรสารต้องป้อนแผ่นกระดาษเข้าเครื่องที ละหนึ่งแผ่น กระดาษที่ใช้ต้องมีขนาดเหมาะสมกับเครื่อง เนื้อกระดาษไม่แข็ง หนา หรือ
บางเกินไป สารที่ส่งไปต้องไม่ใช่เป็นความลับหรือสิ่งพึง ปกปิด การใช้โทรสาร
13.
ไม่ควรเขียนข้อความที่เป็นความลับหรือสิ่งพึง ปกปิด ไม่ควรเขียนข้อความอื่นใดหรือลวดลายลงไป ในหน้าที่เป็นชื่อและที่อยู่ของผู้ฝากและผู้รับ นอกจากชื่อและที่อยู่เท่านั้น การใช้ไปรษณียบัตร
Download