ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ศูȨ์ควบคุมระบบประสาท
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์
โครงสร้างและการทางานของเซลล์ประสาท
ระบบประสาทแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system; CNS):
สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่รวบรวม
และแปลผลข้อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก
(Peripheral nervous system; PNS):
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve)
เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve)
และปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นา
สัญญาณประสาทเข้า-ออก CNS และ
ควบคุมการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
ภายในร่างกาย
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS)
ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS)
เยื่อหุ้ม(meninges) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
ชั้นนอก(dura matter) หนาและเหนียวและแข็งแรงช่วย
ป้องกันอันตรายและกระทบกระเทือนให้แก่สมองและไข
สันหลัง
ชั้นกลาง(arachniod matter) เป็นเยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้น
อกกับชั้นใน
ชั้นใน(pia matter) เป็นชั้นที่อยู่ติดกับเนื้อสมองและไขสัน
หลังเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มากนาอาการและ
ออกซิเจนมาให้สมอง
ศูȨ์ควบคุมระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervous system)
1. Brain
2. Spinal cord
การเจริญพัոาการของสมอง
โครงสร้างของสมอง
 สมองส่วนหน้า
(forebrain หรือ prosencephalon)
 สมองส่วนกล
(midbrain หรือ mesencephalon)
 สมองส่วนท้าย
(hindbrain หรือ rhombencephalon)
พัฒนาการสมองของสัตว์
 สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon)
ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เป็นส่วนใหญ่ พบในสัตว์ที่มี
วิวัฒนาการสูงขึ้น
 สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon)
ทาหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น จะมีขนาดใหญ่สุดในปลาและมี
ขนาดเล็กลงในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
 สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon)
จะมีพัฒนาการดีมากในสัตว์ที่เคลื่อนที่ 3 มิติ เช่น ปลา นก รวมทั้ง
คนด้วย
เปรียบเทียบการพัฒนาสมองส่วนต่างๆ
ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆྺองคน
 สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
1. ซีรีบัล(cerebrum)
* frontal lobe * temporal lobe * parietal lope
* occipital lobe
2. ทาลามัส(thalamus)
3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus)
4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb)
 สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
1.ออฟติก โลป(optic lope)
 สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) 2.medulla ablongata 3. pons
สมองส่วนต่างๆྺองคน
ศูȨ์ควบคุมระบบประสาท
สมอง (Brain)
 สมองใหญ่ (Cerebrum) แบ่งออกเป็น 2 ซีก แต่ละซีกเรียกว่า
Cerebral hemisphere
 สมองแต่ละซีกแบ่งออกเป็น 2 ชั้น
- ชั้นนอก (Cerebral cortex) เรียกอีกชื่อว่า gray matter
- ชั้นใน (Cerebral medulla) เรียกอีกชื่อว่า white matter
สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon)
1. cerebrum
 เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้
เป็นศูนย์กลางการรับรู้
ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย
ควบคุมการออกเสียงของคน
ควบคุมเกี่ยวกับอารมณ์
ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
ควบคุมทักษะ
เกี่ยวกับการต่อสู้
ควบคุมพฤติกรรมทางสังคม
โครงสร้างและหน้าที่ใȨมองซีรีบรัมส่วȨ่างๆ
frontal lobe เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ
temporal lobe ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด เข้าใจคาพูดและการอ่าน
parietal lope รูสึกตัว การเขียน รับความรู้สึก
occipital lobe การมองเห็น
หน้าที่เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแส
ประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวข้องจึงอาจเรียกส่วนนี้ว่าเป็นสถานี
ถ่ายทอดที่สาคัญของสมอง
2. ทาลามัส(thalamus)
3. ไฮโพทาลามัส(thalamus)
*ควบคุมการเต้นของหัวใจ
*ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
*ควบคุมความดันเลือด
*ควบคุมการกินอาหาร
*ควบคุมการแสดงออกของอารมณ์
*ควบคุมเกี่ยวกับการหลับและตื่น
*ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb)
ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
ในพวกปลาจะเจริญดีมากต่างจากพวกไพรเมต(primate)
ออฟติก โลป(optic lope) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็น
เจริญพัฒนามากในสัตว์พวกปลา นกและลดน้อยลงในสัตว์ชั้นสูง
สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
 สมองส่วนกลาง (Midbrain หรือ Mesencephalon)
เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากสมองส่วนหน้า พวกสัตว์มีกระดูกสัน
หลังชั้นต่า เช่น ปลา สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก
สัตว์เลื้อยคลานจะมีสมองส่วนกลางขนาดใหญ่และมี
ลักษณะเป็นพูกลม ๆ ยื่นออกมาเรียกว่า ออปติกโลป
(Optic Lope) ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางถ่ายทอดความรู้สึก
เกี่ยวกับการมองเห็นและการได้ยิน สาหรับในสัตว์มี
กระดูกสันหลังชั้นสูง สมองส่วนนี้จะลดขนาดลงและถูก
สมองส่วนอื่นปิดทับเอาไว้
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum)
2.เมดุลา ออฟลองกาตา(medulla ablongata)
3. พอนส์(pons)
สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆ
ให้เป็นไปอย่างสละสลวย ควบคุมการทรงตัว
2.เมดุลา ออฟลองกาตา
(medulla ablongata)
ทาหน้าที่เกี่ยวกับระบบ
ประสาทอัตโนวัติได้แก่
ควบคุมอัตราการเต้นของ
หัวใจ ควบคุมการหายใจ
ความดันเลือด การกลืนการ
จาม การอาเจียน
3. พอนส์(pons) ทาหน้าที่
ควบคุมการเคี้ยว การหลั่ง
น้าลายและการเคลื่อนไหว
ของใบหน้าควบคุมการ
หายใจ เป็นทางผ่านของ
กระแสประสาทระหว่าง
ซีรีบรัมกับซีรีเบลลัม
และระหว่างซีรีเบลลัมกับ
ไขสันหลัง
 รูปร่างเป็นแท่งยาวทรงกระบอกตรงปลายจะเป็นรูปกรวย
 ด้านหน้าของไขสันหลังต่อกับ medulla oblongata
 มีลักษณะเป็นปล้องๆบรรจุอยู่ในช่องของกระดูกสันหลัง (vertebral
canal)
ไขสันหลัง (Spinal cord)
ภาพแสดงไขสันหลังที่บรรจุอยู่ในโพรงกระดูก
แบ่งเป็น
ไขสันหลังระดับคอ (Cervical)
ไขสันหลังระดับอก (Thoracic)
ไขสันหลังระดับเอว (Lumbar)
ไขสันหลังระดับกระเบนเหน็บ (Sacral)
ไขสันหลัง (Spinal cord)
ไขสันหลัง(spinal cord)
เนื้อไขสันหลังมี 2 ส่วนคือ
 white matter เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบนอก โดยบริเวณนี้มีเฉพาะ
ใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มโดยไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย
 Gray matter เป็นส่วนที่มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ โดยบริเวณนี้มี
ทั้งตัวเซลล์ประสาทและใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตัวเซลล์
ประสาทมีทั้งเซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
โครงสร้างของไขสันหลัง
เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน
White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก
Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษร
ตัว H หรือปีกผีเสื้อ ประกอบด้วย
- ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก
- ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนาคาสั่ง
- ปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมี
เซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่
ไขสันหลัง (Spinal cord)
มีหน้าที่ 3 ประการ คือ
1. ทาหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกไปสู่สมอง
2. ทาหน้าที่ส่งผ่านกระแสประสาทจากสมองไปสู่หน่วยปฏิบัติงาน
3. เป็นศูนย์รีเฟล็กซ์
ไขสันหลัง (Spinal cord)
 เส้นประสาทสมอง 12 คู่
 เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
 ปมประสาท
ระบบประสาทส่วนปลาย (PNS)
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve)
เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท
เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับความรู้สึก(sensory nerve)
ทาหน้าที่ รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึกไปยัง
สมองส่วนที่เกี่ยวข้อง
เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (moter nerve)
ทาหน้าที่ นากระแสคาสั่งจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) ทาหน้าที่
รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยังสมองส่วนที่
เกี่ยวข้อง และจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) คนมี 12 คู่
ศูȨ์ควบคุมระบบประสาท
สรุป
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่
รับความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่
1 , 2 , 8
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นา
คาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่
3 , 4 , 6 , 11 , 12
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่
ผสม มี 4 คู่ ได้แก่
5 , 7 , 9 , 10
เส้นประสาทไขสันหลัง
ในคนมีทั้งหมด 31 คู่
ทั้งหมดเป็นเส้นประสาท
ผสม(mixed nerve)
เส้นประสาทไขสันหลัง
จึงเหมือนเส้นประสาทสมอง
คู่ที่ 5,7,9,10
 ทุกเส้นเป็น Mixed nerve (ยกเว้นคู่แรก)
 มี 31 คู่
- 8 Cervical nerves (C1 - C8)
- 12 Thoracic nerves (T1 -T12)
- 5 Lumbar nerves (L1 - L5)
- 5 Sacral nerves (S1 - S5)
- 1 Coccygeal nerve (Co or Cc)
เส้นประสาทไขสันหลัง ( Spinal nerves)
ศูȨ์ควบคุมระบบประสาท
ครูสุกัญญา เพ็ชรอินทร์

More Related Content

ศูȨ์ควบคุมระบบประสาท