ݺߣ
Submit Search
สรุปȨ้อหาวิชาการพัฒȨหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
•
Download as PPT, PDF
•
5 likes
•
9,401 views
K
kruskru
Follow
สรุปสำหรัว นศ.ที่เรียนวิชาการพัฒนาหลักสูตร ม.รภ.สงขลา
Read less
Read more
1 of 26
Download now
Downloaded 253 times
More Related Content
สรุปȨ้อหาวิชาการพัฒȨหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
1.
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร (ก่อนสอบระหว่างภาค)
2.
ประเด็นเนื้อหา ความหมาย ความสำคัญ
ประเภท แนวคิดทฤษฎี ปรัชญา ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
3.
ความหมาย หลักสูตร หมายถึง
มวลประสบการณ์ทุกอย่างྺองผู้เรียน
4.
ความหมาย :
อกสารหลักสูตร
5.
ความหมาย :
อกสารหลักสูตร
6.
ความหมาย :
หลักสูตรในฐาȨที่เป็Ȩุดหมายปลายทาง
7.
ความหมาย :
หลักสูตรในฐาȨที่เป็ȨิชาและȨ้อหาสาระที่จัดให้แก่ผู้เรียน
8.
ความสำคัญของหลักสูตร สุนีย์ ภู่พันธ์
( 2546:17) สรุปความสำคัญของหลักสูตร นำเสนอเพียงบางส่วน ดังนี้ เป็นเสมือนเบ้าหลอมพลเมืองให้มีคุณภาพ เป็นมาตรฐานของการจัดการศึกษา เป็นโครงการและแนวทางในการให้การศึกษา ในระดับโรงเรียนหลักสูตรจะเป็นแนวปฏิบัติแก่ครู เป็นแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของเด็กตามจุดมุ่งหมาย หลักสูตรย่อมทำนายลักษณะของสังคมในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร
9.
องค์ประกอบของหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
(Curriculum Aims) เนื้อหา (Content) การนำหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation) การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)
10.
ประเภท / รูปแบบของหลักสูตร
วิชัย ตันศิริ ( 2549: / 242-250) อธิบายถึงรูปแบบของ หลักสูตร 5 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบเนื้อหาสาระวิชา (Subject-Based) รูปแบบของ “ Broad Fields” รูปแบบของหลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและภารกิจของชีวิตเป็นแกนหลัก (Social Processes and Life Functions) รูปแบบหลักสูตรที่ยึดประสบการณ์เป็นแกน (Experience Curriculum) รูปแบบของหลักสูตรแกนร่วม (Core Curriculum)
11.
1. รูปแบบเนื้อหาสาระวิชา
(Subject-Based) เป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุด และยังคงเป็นแกนหลักของระบบโรงเรียนทั่วโลก เพราะ การจัดการเรียนการสอนตามสาขา ทำให้ง่ายต่อการสอน แต่ละสาขาวิชา ได้วางลำดับก่อนหลังของหลักการหรือความคิดไว้แล้ว การใช้สาขาวิชาเป็นแกนหลักของการเรียนการสอน ช่วยฝึกสมอง (ความคิด) ของผู้เรียนให้คิดอย่างมีตรรกะ ทำให้ผู้เรียนมีแนวคิดตามแก่นแท้ของวิชาการ และเชื่อว่าความรู้เหล่านี้จะเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาในอนาคต
12.
2. รูปแบบของ
“ Broad Fields” “ Broad Fields” คือ การรวมสาขาที่ใกล้เคียงกันให้เป็นหมวดหมู่เดียวกัน เนื่องจากมีข้อวิพากษ์ว่า หลักสูตรตามสาขาทำให้ นร . มองไม่เห็นภาพรวมของความเป็นจริง แต่ปัญหาของสังคมมีลักษณะข้ามมิติสาขาวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้
13.
3. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและภารกิจของชีวิตเป็นแกน
Herbert Spencer มองโลกว่า ประกอบด้วยกิจกรรม 5 ด้าน ได้แก่ ภารกิจเพื่อความอยู่รอด อาชีพ การเลี้ยงบุตรธิดา รักษาความสัมพันธ์ที่เหมาะสมทางสังคมและการเมือง การใช้เวลาว่างเพื่อความสุข
14.
3. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและภารกิจของชีวิตเป็นแกน
การจัดหลักสูตรโดยยึดภารกิจของชีวิตน่าจะทำให้การเรียนการสอนมีความหมายต่อผู้เรียน ทำให้การเรียนสัมผัสกับปัญหาจริงของชีวิต และง่ายต่อความเข้าใจ
15.
3. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและภารกิจของชีวิตเป็นแกน
หลักสูตรของมลรัฐเวอร์จิเนีย ในช่วง ค . ศ . 1934 เป็นต้นมา จัดตามแนวทางนี้ โดยยึด 9 ประเด็นหลัก การปกป้องชีวิต และรักษาสุขภาพ การหาเลี้ยงชีพ การสร้างครอบครัว การแสดงออกด้านจิตวิญญาณทางศาสนา การตอบสนองต่อความรู้สึกเรื่องความงาม
16.
3. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและภารกิจของชีวิตเป็นแกน
หลักสูตรของมลรัฐเวอร์จิเนีย ในช่วง ค . ศ . 1934 เป็นต้นมา จัดตามแนวทางนี้ โดยยึด 9 ประเด็นหลัก การแสวงหาการศึกษา การร่วมมือทางสังคม การพักผ่อนหย่อนใจ การปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
17.
4. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดประสบการณ์เป็นแกน
(Experience Curriculum) ตามแนวคิด John Dewey การเรียนรู้ที่แท้จริงเกิดจากประสบการณ์และการเรียนจากการแก้ไขปัญหาชีวิต ยึดความสนใจของผู้เรียนเป็นหัวข้อของการเรียนการสอน คล้ายรูปแบบหลักสูตรที่ยึดกระบวนการทางสังคมและภารกิจของชีวิตเป็นแกนหลัก แต่เป็นแนวทางปลายเปิด คือไม่มีกรอบแน่นอน
18.
4. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดประสบการณ์เป็นแกน
(Experience Curriculum) ในช่วง ค . ศ . 1930 มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ได้นำแนวคิดของการจัดหลักสูตรประถมศึกษาโดยยึดความสนใจของเด็กเป็นแกนหลัก ซึ่งจำแนกได้ว่ามี 8 ประการ ได้แก่ ชีวิตในบ้าน โลกธรรมชาติ ชุมชนรอบตัวเด็ก อาหาร การผลิต และการจำหน่าย การคมนาคมขนส่ง ชีวิตในชุมชนสมัยก่อน ชีวิตในชุมชนของประเทศอื่น ประสบการณ์ของชีวิตในสังคม
19.
4. รูปแบบหลักสูตรที่ยึดประสบการณ์เป็นแกน
(Experience Curriculum) รูปแบบหลักสูตรแบบประสบการณ์นี้ หากนำไปเป็นส่วนหนึ่งงของหลักสูตรเนื้อหาวิชา อาจจะทำให้หลักสูตรเนื้อหาวิชาสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
20.
5. รูปแบบของหลักสูตรแกนร่วม
(Core Curriculum) ทาบา มีความคิดเห็นว่า รูปแบบหลักสูตรแบบแกนร่วม เกิดขึ้นเพื่อที่จะตอบสนองต่อความต้องการและความคิดเห็นอันหลากหลายของ 4 รูปแบบที่ผ่านมา วัตถุประสงค์ก็เพื่อบูรณาการหลากหลายสาขาวิชา เพื่อตอบสนองความสนใจและความต้องการของผู้เรียน และเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญ
21.
5. รูปแบบของหลักสูตรแกนร่วม
(Core Curriculum) ตัวอย่าง รูปแบบที่เป็นแกนร่วมจริงๆ ได้แก่ หลักสูตรแกนร่วมที่บูรณาการสาขาวิชาเป็นหนึ่งเดียว เช่นบูรณาการประวัติศาสตร์และวรรณคดี ตามยุคสมัย การบูรณาการอาจรวมไปถึงวิชาวิทยาศาสตร์ และศิลปะ ได้ด้วย หลักสูตรแกนร่วมที่ยึดปัญหาที่มีขอบเขตค่อนข้างกว้างเป็นแกนการจัด โดยคัดเลือกเนื้อหาวิชาต่างๆ ที่จะช่วยแก้ปัญหาและความสนใจของผู้เรียน หลักสูตรแกนร่วมที่ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ซึ่งครูและนักเรียนวางแผนร่วมกัน ตามสภาพความต้องการของกลุ่มนักเรียน
22.
5. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาหลักสูตร
สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับโรงเรียน ชุมชนหรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่ ข้อมูลของการศึกษาหลักสูตรเดิม
23.
ปรัชญา กลุ่มสารัตถนิยม
( Essentialism) เน้น “ สาระ” ที่สำคัญของความรู้ กลุ่มนิรันตรวาท หรือ ถาวรนิยม (Perennialism) มุ่งที่จะสอนความรู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น “สัจนิรันดร์กาล” มุ่งที่ฝึกวินัยทางความคิด เน้น เรียนวิชาที่ยาก เช่น ภาษาลาติน กรีก คณิตศาสตร์ เหมาะผู้เรียนที่เป็น “หัวกระทิ”
24.
ปรัชญา กลุ่มก้าวหน้านิยม “
Progressivism” ไม่ได้ให้ความสำคัญของ “สาระ” เป็นลำดับแรก แต่ “สาระ” จะมาหลังการทดลองปฏิบัติเสียก่อน ไม่เน้นเรื่องการฝึกวินัยจิต แต่จะเน้นความเจริญงอกงามของจิต - หรือสมองจากประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตในปัจจุบัน หรือที่เป็นความสนใจของผู้เรียน
25.
ปรัชญา กลุ่มสร้างสรรค์สังคมใหม่
(Reconstructionism) การศึกษามิใช่เรื่องของปัจเจกบุคคลเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของส่วนรวมที่จะต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาของโลกปัจจุบัน กลุ่มอัตถิภาวนิยม (Existentialism) เน้นเสรีภาพทางการเรียนของแต่ละบุคคล
26.
บรรณานุกรม วิชัย
ตันศิริ . 2549. อุดมการณ์ทางการศึกษา ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . สุนีย์ ภู่พันธ์ . 2546. แนวคิดพื้นฐานการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร . เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์ The Knowledge Center ในเครือ บริษัท ดวงกมลเชียงใหม่ จำกัด . กระทรวงศึกษาธิการ . 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จำกัด .
Download