ݺߣ
Submit Search
การแยกสารเȨ้อึϸยว ครูมณีรัตน์
•
1 like
•
783 views
P
Ponpirun Homsuwan
Follow
การแยกสารเȨ้อึϸยว
Read less
Read more
1 of 46
Download now
Download to read offline
More Related Content
การแยกสารเȨ้อึϸยว ครูมณีรัตน์
1.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นางมณีรัตน์ กาลสุวรรณ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3.
หมายถึง สารที่มีลักษณะของเนื้อสารผสมกลมกลืนกัน เป็นเนื้อเดียว และมีอัตราส่วนของผสมเท่ากัน
ถ้านา ส่วนใดส่วนหนึ่งของสารเนื้อเดียวไปทดสอบจะมี สมบัติเหมือนกันทุกประการ ตัวอย่าง เช่น น้า น้าเชื่อม เหรียญบาท โซดาไฟ แก๊สหุงต้ม แอลกอฮอล์ เป็นต้น
4.
หมายถึง สารที่มีลักษณะของเนื้อสารคละกัน ไม่ผสม กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน
สารที่เป็นส่วนผสมแต่ละ ชนิดก็ยังคงแสดงสมบัติของสารเดิม ตัวอย่าง เช่น ทราย คอนกรีต ดิน น้าคลอง น้าจิ้มไก่ ฝุ่นละอองในอากาศ เขม่า เป็นต้น
5.
1. การระเหย 2. การตกผลึก 3.
การกลั่น 4. โครมาโทรกราฟี
6.
เหมาะสาหรับใช้แยกสารผสมที่เป็น ของเหลวและมีของแข็ง ละลายในของเหลว นี้ จนทาให้สารผสมมีลักษณะเป็นของเหลว ใส
ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้ว่า สารละลาย
7.
หลักการ สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยกลายเป็นไอ ได้ดีกว่าสารที่มีจุดเดือดสูง ดังนั้น สารที่ระเหย คือ
ของเหลว ส่วน สารที่เหลืออยู่ในภาชนะคือ ของแข็ง
8.
วิธีการ ให้ความร้อนแก่สารละลาย(โดยการต้มหรือตากแดด) สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยกลายเป็นแก๊ส (ไอ) ส่วน ของแข็งซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าจะเหลืออยู่ในภาชนะ
9.
ตัวอย่างการแยกสาร แยกเกลือออกจากน้าทะเล แยกจุนสีออกจาก CuSO4
5H2O
10.
เป็นวิธีที่ทาให้สารบริสุทธิ์ โดยอาศัยหลักการ ละลายได้ที่ต่างกัน โดยสารที่ต้องการแยกและไม่ ต้องการแยกจะต้องละลายได้ในตัวทาละลายชนิด เดียวกัน
แต่ต้องมีความสามารถในการละลาย ต่างกัน โดยสารที่ละลายได้น้อยกว่าจะตกผลึก ออกมาก่อน
11.
หลักการ 1. ความสามารถในการละลายของสาร ที่อุณหภูมิสูง สารมีความสามารถในการละลาย สูงกว่าที่อุณหภูมิต่า
: ได้สารละลายอิ่มตัว 2. กรอง (สารละลายขณะที่ร้อน) 3. ลดอุณหภูมิ : ผลึกของสาร
12.
คือ สารละลายที่มีตัวละลายอยู่ปริมาณ สูงสุด ณ
อุณหภูมิขณะนั้น
13.
สมบัติของตัวถูกละลายที่แยกออกจากกัน 1. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้น้อย จะอิ่มตัวก่อน
จะตก ผลึกและแยกตัวออกไปก่อน 2. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้มาก จะอิ่มตัวช้า จะตก ผลึกและแยกตัวทีหลัง
14.
ตัวอย่าง ทาสารส้มให้บริสุทธิ์ ทา NiSO4 (aq)
ให้บริสุทธิ์ ทาเกลือให้บริสุทธิ์
15.
การแยกสารที่เกิดจากของเหลวหลายชนิดผสมกัน โดยของเหลวแต่ละชนิดมี จุดเดือดต่างกัน ประเภทของการกลั่น 1. การกลั่นแบบธรรมดา 2.
การกลั่นลาดับส่วน 3. การกลันด้วยไอน้า
16.
หลักการ 1. การระเหย คือการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะ จากของเหลวกลายเป็นไอ 2.
การควบแน่น คือการแก๊สเปลี่ยนสถานะเป็น ของเหลว
17.
วิธีการ ให้ความร้อนแก่สาร สารที่มีจุดเดือดต่า จะกลายเป็นไอออกมาก่อน และเมื่อผ่าน เครื่องควบแน่น
ไอจะกลั่นตัวกลับมาเป็น ของเหลว
18.
ใช้กลั่นแยกสารที่ระเหยง่ายซึ่งปนอยู่กับสารที่ ระเหยยาก การกลั่นธรรมดานี้จะใช้แยกสารออก เป็นสารบริสุทธิ์เพียงครั้งเดียว ใช้ได้กับสารที่มี จุดเดือดต่างกัน
ตั้งแต่ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป
19.
ลักษณะของสารที่จะแยกโดยการกลั่นแบบธรรมดามีดังนี้ 1. ตัวทาละลายต้องเป็นของเหลวระเหยง่าย มีจุดเดือดต่า (สถานะมักเป็นของเหลว) 2.
ตัวถูกละลายเป็นสารที่มีจุดเดือดสูงระเหยยาก (สถานะ ของแข็ง) 3. ตัวทาละลายและตัวถูกละลายควรมีจุดเดือดต่างกัน มากกว่า 80 oC
20.
ตัวอย่าง การกลั่นน้าเกลือ ซึ่งประกอบด้วย น้า
(จุดเดือด 100 องศาเซลเซียส) และเกลือโซเดียมคลอไรด์ (จุดเดือด 1,413 องศาเซลเซล)
21.
เหมาะ สาหรับกลั่นแยกของเหลวที่มีจุดเดือด ใกล้เคียงกัน หรือแยกสารละลายที่ตัวทาละลายและ ตัวถูกละลายเป็นสารที่ระเหยง่ายทั้งคู่
ซึ่งถ้ากลั่น แบบธรรมดาเพียงครั้งเดียวจะได้สารที่ไม่บริสุทธิ์ มักใช้แยกสารละลายที่ตัวทาละลายและตัว ละลายมีสถานะของเหลว จุดเดือดต่างกัน (น้อยกว่า 30 oC)
22.
สารที่มีจุดเดือดต่าจะควบแน่น และกลั่น ตัวก่อน สารที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่นและกลั่น ตัวทีหลังตามลาดับ
23.
ตัวอย่าง 1. แยกสารละลายที่ตัวทาละลายและตัวละลายสถานะ ของเหลว เช่น
สารผสมระหว่างเอทานอล เมทานอล 2. การกลั่นแยกก๊าซธรรมชาติ 3. การกลั่นแยกน้ามันปิโตรเลียม
25.
เป็นการแยกสารที่ระเหยง่ายออกจากสารที่ระเหยยาก โดยใช้ไอน้าพาออกมา
26.
หลักการ 1. การระเหย 2.การควบแน่น 3. การใช้กรวยแยกหรือดูดออก
27.
สมบัติของสารที่แยกโดยการกลั่นด้วยไอน้้า 1. ต้องไม่ละลายน้า 2. ระเหยง่าย
มีจุึϹึϸอดหรือต่า
28.
วิธีการ 1. นาสารไปต้มกับน้าหรือผ่านไอน้าเข้าไปยังสารที่ ต้องการสกัด 2. เมื่อร้อน
สารที่ต้องการสกัดแยก และน้าจะระเหย ออกมา พร้อมกันจนกระทั่งความดันไอของสารรวมกับ ความดันไอน้าเท่ากับความดันบรรยากาศของเหลวทั้งสอง จะกลั่นตัวออกมาพร้อมกันที่อุณหภูมิต่ากว่า จุดเดือดของสาร
29.
วิธีการ 3. ของเหลวจะควบแน่น แยกเป็น
2 ชั้น โดยน้าอยู่ชั้น ล่าง สารที่ต้องการสกัดอยู่ขึ้นบน 4. แยกของผสมที่กลั่นได้โดยการใช้รวยแยกหรือ ดูดออก
30.
ตัวอย่าง 1. สกัดแยกน้ามันหอมระเหยออกจากส่วนต่างๆ ของพืช เช่น
น้ามันหอมระเหยจากดอกกุหลาบ , น้ามันหอมระเหย จากผิวมะกรูด 2. สกัดแยกน้ามันพืชจากเมล็ดพืช
31.
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกมีความแตกต่างกันคือ การระเหย ต้องการผลิตภัณฑ์ของแข็ง การกลั่น ต้องการผลิตภัณฑ์เป็นของเหลว
32.
เป็นวิธีการแยกตัวถูกละลายที่ผสมกันหลายๆ ชนิด ออกจากกันในสารละลายหนึ่งๆ โดยอาศัยความ แตกต่างของ ความสามารถในการละลาย ความสามารถในการดูดซับ
33.
ประเภทของโครมาโทกราฟี 1. โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ 2. โครมาโทกราฟีแบบคอลัมน์(แบบลากระบอก) 3.
ทินเลเยอร์โครมาโทกราฟี (แบบผิวบาง)
34.
องค์ประกอบของวิธีโครมาโทกราฟี มี 2 องค์ประกอบ
คือ 1. ตัวทาละลาย 2. ตัวดูดซับ
35.
ตัวดูดซับ ทาหน้าที่ดูดซับสารและเป็นตัวกลางให้สาร เคลื่อนที่ผ่านและแยกตัวออกจากกัน สารที่ดูดซับด้วยตัว ดูดซับได้ดีจะเคลื่อนที่ช้า
สารที่ดูดซับได้น้อยจะเคลื่อนที่เร็ว ตัวดูดซับได้แก่ กระดาษโครมาโทกราฟี ผงอลูมินา ซิลิกา
36.
ตัวทาละลาย ทาหน้าที่ละลายและพาสารเคลื่อนไป สารที่ ละลายในตัวทาละลายได้ดีจะเคลื่อน
ที่แยกตัวไปก่อน สารที่ ละลายในตัวทาละลายได้น้อยจะเคลื่อนที่ทีหลัง ตัวทาละลายได้แก่ ของเหลวใส ไม่มีสี เช่น น้า เอทานอล แอลกอฮอล์ เฮกเซน และ สารละลาย NaCl เป็นต้น โครมาโทกราฟี (ต่อ)
37.
อัตราการเคลื่อนที่ของสาร (Rf :
Rate of flow) ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ ระยะทางที่ตัวทาละลายเคลื่อนที่ Rf =
38.
สมบัติของค่า Rf 1. ค่า
Rf ไม่มีหน่วย 2. ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น 3. ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1 4. ค่า Rf ขึ้นอยู่กับชนิดของสารและชนิดของตัวทาละลาย 5. ค่า Rf เป็นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่ละสาร
39.
สารที่มีค่า Rf มาก
แสดงว่าสารมีคุณสมบัติดังนี้ 1.สารเคลื่อนที่ได้เร็วหรือมาก 2. สารถูกดูดซับได้น้อย 3. สารละลายได้ดี
40.
สารที่มีค่า Rf น้อย
แสดงว่าสารมีสมบัติ ดังนี้ 1. สารเคลื่อนได้ช้าหรือน้อย 2. สารถูกดูดซับได้มาก 3. สารละลายได้น้อย
41.
ประโยชน์ 1. ใช้แยกสารที่มีปริมาณน้อยๆ ได้
ซึ่งวิธีอื่นแยกไม่ได้ 2. ใช้แยกได้ทั้งสารมีสีและมีไม่มีสี 3. ใช้วิเคราะห์ชนิดของสารและหาปริมาณของสารผสม 4. ใช้ทดสอบความบริสุทธิ์ของสาร
42.
ข้อจ้ากัดของวิธีโครมาโตกราฟี ถ้าสารที่ต้องการจะแยกออกจากกันมีความสามารถ ในการละลายในตัวทาละลายในตัวทา ละลายได้ เท่ากันและถูกดูดซับด้วยตัวดูดซับเท่ากัน ไม่สามารถ แยกออกจากกันได้
เพราะจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกัน ด้วยระยะทางเท่ากัน
43.
วิธีแก้ไข 1. เปลี่ยนชนิดของตัวทาละลาย 2. เพิ่มระยะทางของตัวดูดซับให้ยาวขึ้น 3.
ใช้แบบคอลัมน์โครมาโตกราฟี (แบบกระบอก) เพื่อใช้แยกสารที่มีปริมาณมากๆได้
44.
เป็นวิธีการแยกสารที่เป็นของเหลวปนกับ ของเหลว หรือของแข็งปนกับของแข็ง โดยอาศัย สมบัติการละลายของสาร
และเป็นการแยกสาร ที่ต้องการออกจากส่วนต่างๆ ของพืชหรือของผสม
45.
คุณสมบัติของตัวท้าละลาย 1. สามารถละลายสารที่ต้องการสกัดได้ดี 2. ไม่ละลายสารอื่นๆที่ไม่ต้องการ
หรือละลายได้น้อยมาก 3. ไม่มีพิษ มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย จึงจะแยกออกจากสาร ที่สกัดได้ง่าย 4. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ต้องแยก 5. หาง่าย ราคาถูก เช่น น้า
46.
ตัวอย่างการสกัดด้วยตัวทาละลาย 1. ใช้สกัดน้ามันพืชจากเมล็ดพืช เช่น
น้ามันงา รา ถั่ว ปาล์ม นุ่น บัว นิยมใช้เฮกเซน เป็นตัวทาละลาย 2. สกัดสารมีสีออกจากพืช 3. ใช้สกัดน้ามันหอมระเหยออกจากพืช 4. ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร
Download