ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2.ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3.จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4.การลงมือทาโครงงาน
5.การเขียนรายงาน
6.การนาเสนอและแสดงโครงงาน
Credit: https://sites.google.com/site/wasanacom551/to-dos
1.คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักจะได้มาจากปัญหาคาถามหรือความ
สนใจในเรื่องต่างๆจากการสังเกตสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือสิ่งต่างๆรอบตัวปัญหาที่จะ
นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆกันดังนี้
1.การอ่านค้นคว้าจากหนังสือเอกสารหนังสือพิมพ์หรือวารสารต่างๆ
2.การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3.การฟังบรรยายทางวิชาการรายการวิทยุและโทรทัศน์รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4.กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5.งานอดิเรกของนักเรียน
6.การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญดังนี้
1.ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2.สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3.มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4.มีเวลาเพียงพอ
5.มีงบประมาณเพียงพอ
6.มีความปลอดภัย
2.ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้
นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นรวมทั้งได้ความรู้
เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสมใน
การศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
1.จะทาอะไร
2.ทาไมต้องทา
3.ต้องการให้เกิดอะไร
4.ทาอย่างไร
5.ใช้ทรัพยากรอะไร
6.ทากับใคร
7.เสนอผลอย่างไร
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
ชื่อโครงงาน ทาอะไรกับใครเพื่ออะไร
ประเภทโครงงาน วิเคราะห์จากลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงานอาจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มก็ได้
ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาและควบคุมการทาโครงงานของนักเรียน
ครูที่ปรึกษาร่วม
ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วมให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนัก
เรียน
ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงานตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกาหนดเป็นวันหรือ
เดือนก็ได้
แนวคิดที่มาและ
ความสาคัญ
สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการและผลผลิต
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
วิธีดาเนินงาน
กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงานเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์งบประมาณและ
ผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติ วันเวลาและกิจกรรมดาเนินการต่างๆตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิดทั้งที่เป็นผลผลิตกระบวนการและผลกระทบ
เอกสารอ้างอิง สื่อเอกสารข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้วก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงาน
ได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่งขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ดังนี้
4.1การเตรียมการ
การเตรียมการต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และวัสดุอื่นๆที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อม
ด้วยและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์สาหรับบันทึกการทา
กิจกรรมต่างๆระหว่างทาโครงงานได้แก่ได้ปฏิบัติอย่างไรได้ผลอย่างไรมีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร
รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆที่พบ
4.2การลงมือพัฒนา
1.ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครงแต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้
ผลงานดีขึ้น
2.จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆให้แล้วเสร็จก่อนจึงค่อยทา ส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้นและถ้ามีการแบ่งงานกันทาให้ตกลง
รายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
3.พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบและบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.3การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้
ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้วให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุมเพื่อช่วยให้
ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงานและทาการอภิปรายผลด้วยเพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้
พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการทฤษฎีหรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้วทั้งนี้ยังรวมถึงการนา
หลักการทฤษฎีหรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้วนักเรียนอาจพบข้อสังเกตประเด็นที่สาคัญหรือปัญหาซึ่งสามารถ
เขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิดวิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆเกี่ยวกับโครงงานนั้นในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้
ภาษาที่อ่านง่ายชัดเจนกระชับและตรงไปตรงมาให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
5.1ส่วนนา
ส่วนนาเป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1.ชื่อโครงงาน
2.ชื่อผู้ทาโครงงาน
3.ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4.คาขอบคุณเป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานสาเร็จ
5.บทคัดย่ออธิบายถึงที่มาความสาคัญวัตถุประสงค์วิธีดาเนินการและผลที่ได้โดยย่อ
5.2 บทนา
บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1.ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2.เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
3.ขอบเขตของโครงงาน
5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎีเป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการทฤษฎีหรือวิธีการที่จะ
นามาใช้ในการพัฒนาโครงงานซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนา
เพิ่มเติมด้วย
5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการอธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียดพร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อม
ทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไขพร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
5.5ผลการศึกษา
ผลการศึกษานาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้โดยอาจแสดงเป็นตารางหรือกราฟหรือข้อความ
ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
5.6สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลและข้อเสนอแนะอธิบายผลสรุปที่ได้จากการทา งานถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่า
ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนาผลการ
ทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์อุปสรรคของการทาโครงงานหรือข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบาง
ประการที่เกิดขึ้นจากการทาโครงงานนี้รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่อง
ทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย
5.7 ประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงานระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้นและประโยชน์ที่
ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานไปใช้ด้วย
5.8 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมรวบรวมรายชื่อหนังสือวารสารเอกสารหรือเว็บไซด์ต่างๆที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้า
หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้การเขียนเอกสาร
บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมาให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้
ผลงานนั้นโดยละเอียดซึ่งประกอบด้วย
1.ชื่อผลงาน
2.ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้น
ได้
3.ความต้องการของซอฟต์แวร์ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อจะให้
ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
4.คุณลักษณะของผลงานอธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้างรับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วนอะไร
ออกมาเป็นข้อมูลขาออก
5.วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชันอธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใดหรือกดปุ่มใดเพื่อให้ผลงานทางานใน
ฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงานเพื่อ
แสดงออกถึงผลิตผลความคิดความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเทและเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้
และเข้าใจถึงผลงานนั้นการเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆกันเช่นการแสดงผลงานโดยไม่มีการ
อธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุมการจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูดเป็น
ต้นโดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1.ชื่อโครงงาน
2.ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3.ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4.คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5.วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6.การสาธิตผลงาน
7.ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
Credit:http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4

More Related Content

ขั้นตอȨารทำโครงงาȨอมพิวเตอร์