ݺߣ
Submit Search
ความหมายของโครงงานคอมพิวตอร์
•
0 likes
•
2,077 views
K
Kornkaruna Lawanyakul
Follow
ความหมายของโครงงานคอมพิวตอร์
Read less
Read more
1 of 4
Download now
Download to read offline
More Related Content
ความหมายของโครงงานคอมพิวตอร์
1.
ความหมายของโครงงานคอมพิวตอร์ หมายถึงกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจโดยจะต้อง วางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม
โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่ นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคย ค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางใน การศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนา สื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การ พัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข Credit:http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/
2.
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ
ความถนัดและ ความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และ ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนา ความสามารถที่เกิดจากการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่ สาคัญ ประการดังนี้ 1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้อง นาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทา โครงงานต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า รวมทั้ง เลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อนาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ 2.ความสามารถในการคิดซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่างๆดังนี้ 1. การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิด เนื่องจากอะไร 2. การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมารวมทั้งความรู้ จากการค้นหาข้อมูลเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน 3. การคิดอย่างสร้างสรรค์เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ 4. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทา โครงงานใดและไม่ควรทาโครง งานใด เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
3.
เช่นโครงงานระบบคานวณเลขหวยสาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวดอาจ ส่งผลกระทบต่อสังคมทาให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น . การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน
โดยใช้ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหา ทางด้านคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนา โครงงานก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองอันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต .ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม Credit:http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/
4.
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบดังนี้ 1.เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าปฏิบัติดัวยตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตาม เนื้อหาโครงงานนั้นๆหรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่างๆที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2.นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆเป็นภาคเรียนหรือมาก ว่าก็ได้แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3.นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจและความพร้อม 4.นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงานรายละเอียดของโครงงานแผนปฏิบัติงานและการแปลผลรายงานผลต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาเพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กาหนดไว้ 5.เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญารวมทั้งการใช้จ่ายเงิน ดาเนินงานด้วย Credit: https://www.gotoknow.org/posts/314100
Download