ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ระบบสารสȨทศ๶พื่อสนับสนุนการตัดสิȨจ
ระบบการทางานในอดีตมีการใช้ระบบสารสนเทศช่วยจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพไม่แน่นอน ไม่ความสะดวก และมีความ
ยุ่งยากในการใช้งาน ปัจจุบันจึงได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาในการจัดการระบบสารสนเทศในองค์กรมากยิ่งขึ้น โดยสนับสนุน
การตัดสินใจนั้น
ระบบสารสนเทศ (Information Systems) คือ กระบวนการรวบรวม บันทึก ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการทางานในทุกด้าน แบ่งประเภทได้ตามความต้องการของ
ผู้ใช้งาน เช่น ส่งเสริมการทางานในด้านอุตสาหกรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ระบบสารสนเทศการจัดการวัตถุดิบและ
ระบบสารสนเทศการจัดการผลผลิต
ประโยชน์ของระบบสารสȨทศ๶พื่อสนับสนุนการตัดสิȨจ
1. เกิดความร่วมมือกันภายในองค์กรมากยิ่งขึ้น เนื่องจากทุกคนในองค์กรสามารถแสดงความคิดเห็นหรือนาข้อมูลใน
GDSS ได้
2. ลดอคติต่อแหล่งที่มาของข้อมูลและช่วยกระตุ้นความคิดเห็นใหม่ ๆ เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นผ่านทาง GDSS
ไม่จาเป็นต้องแสดงข้อมูลของตนเอง
3. ลดปัญหาความขัดแย้งของข้อมูล เนื่องจาก GDSS จะรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลเดียวเท่านั้น ข้อมูลที่นาเสนอ
ไปยังผู้ใช้ทุกคนจึงเป็นข้อมูลเดียวกัน
4. เพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของผลการตัดสินใจ เนื่องจากเป็นผลการตัดสินใจจากผู้ใช้หลายคน

More Related Content

ระบบสารสȨทศ๶พื่อสนับสนุนการตัดสิȨจ

  • 1. ระบบสารสȨทศ๶พื่อสนับสนุนการตัดสิȨจ ระบบการทางานในอดีตมีการใช้ระบบสารสนเทศช่วยจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพไม่แน่นอน ไม่ความสะดวก และมีความ ยุ่งยากในการใช้งาน ปัจจุบันจึงได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาในการจัดการระบบสารสนเทศในองค์กรมากยิ่งขึ้น โดยสนับสนุน การตัดสินใจนั้น ระบบสารสนเทศ (Information Systems) คือ กระบวนการรวบรวม บันทึก ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการทางานในทุกด้าน แบ่งประเภทได้ตามความต้องการของ ผู้ใช้งาน เช่น ส่งเสริมการทางานในด้านอุตสาหกรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ระบบสารสนเทศการจัดการวัตถุดิบและ ระบบสารสนเทศการจัดการผลผลิต ประโยชน์ของระบบสารสȨทศ๶พื่อสนับสนุนการตัดสิȨจ 1. เกิดความร่วมมือกันภายในองค์กรมากยิ่งขึ้น เนื่องจากทุกคนในองค์กรสามารถแสดงความคิดเห็นหรือนาข้อมูลใน GDSS ได้ 2. ลดอคติต่อแหล่งที่มาของข้อมูลและช่วยกระตุ้นความคิดเห็นใหม่ ๆ เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นผ่านทาง GDSS ไม่จาเป็นต้องแสดงข้อมูลของตนเอง 3. ลดปัญหาความขัดแย้งของข้อมูล เนื่องจาก GDSS จะรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลเดียวเท่านั้น ข้อมูลที่นาเสนอ ไปยังผู้ใช้ทุกคนจึงเป็นข้อมูลเดียวกัน 4. เพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของผลการตัดสินใจ เนื่องจากเป็นผลการตัดสินใจจากผู้ใช้หลายคน