ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1



                          การอางอิงและบรรณานุกรม
                                                                     ไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร

               การเขียนอางอิงและทําบรรณานุกรมนับเปนเรื่องสําคัญสําหรับงานวิจัย และ
โดยเฉพาะอยางยิ่งการทําวิทยานิพนธ การทํารายงาน การทําผลงานทางวิชาการ เชน ตํารา
เอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน และบทความทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหลานี้เปน
งานที่มีแบบแผน ตองการความประณีต ถูกตอง ชัดเจน ในการเขียน การเรียบเรียง และ
จําเปนอยางยิ่งที่ตองศึกษาคนควา รวบรวมสารสนเทศจากแหลงตางๆมาประกอบการเขียน
เพื่อใหผลงานนั้นเปนงานวิชาการที่มีคุณคานาเชื่อถือ มีความถูกตองทางวิชาการและเปน
พื้นฐานทางความคิด เพื่อใหเกิดแนวคิดที่เปนผลงานของตนเอง และผลงานขั้นสูงตอไป
ผลงานวิชาการที่ดีจะตองบอกแหลงที่มาของขอมูลถูกตองทันสมัย ตามรูปแบบการเขียน
อางอิงและการเขียนบรรณานุกรม รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เปนที่นิยมของศาสตรนั้นๆ เพื่อ
ชวยใหผูอานหรือผูศึกษาทราบแหลงที่มาของขอมูล เพื่อนําไปศึกษาคนควาหาคําตอบหา
ขอเท็จจริง หรือตรวจสอบหาหลักฐานตอไป

หลักการในการเขียนอางอิงและทําบรรณานุกรม
           1. ทานตองศึกษารูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรมรูปแบบตางๆให
เขาใจและตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เขาใจและเปนที่นิยม
                 2. ผลงานที่ทานเขียนหรือเรียบเรียง เมื่อเขียนอางอิงและบรรณานุกรมจะตอง
เปนระบบเดียวกันตลอดชิ้นงานนั้นของทาน บางครั้งทานอาจจะศึกษาจากเอกสาร ตํารา
เปนจํานวนมาก และแตละเลมอาจจะใชวิธีการอางอิงไมเหมือนกัน โอกาสทําใหทานเผลอ
ใชรูปแบบหลายรูปแบบโดยไมรูตัวได
                 3. การอางอิงเอกสารที่ตีพิมพ ควรหาตนฉบับที่ใชอางอิงโดยตรง การอางอิง
ตามที่ผูอื่นอางไว อาจพิมพผิดไว เชน สะกดชื่อผูแตงผิด ปที่พิมพ หรือลาสมัยไป ดังนั้นการ
อางอิงจากแหลงรองควรใชในกรณีที่ไมสามารถหาเอกสารตัวจริงได
2


            4. การอางอิงที่ปรากฏในเนื้อหาทั้งหมดของทาน จะตองนําไปเขียนใน
บรรณานุกรมใหครบถวนทุกรายการ
            5. กอนนําไปเผยแพรหรือตีพิมพควรตรวจการเขียนอางอิงและ
บรรณานุกรมใหถูกตองครบถวน ทั้งขอความการอางอิงและรูปแบบ

รูปแบบการอางอิงและบรรณานุกรม
                   การอางอิงและบรรณานุกรม ที่ปรากฎแพรหลายอยูในงานทางวิชาการทั้งในประเทศ
                                                               
          และตางประเทศจะมีแบบฟอรมของการอางอิงอยูมากกวา 10 ระบบ เชน
                 ACS Style (American Chemical Society)
                 APSA Style (American Political Science Association
                 AMA Style (American Medical Association)
                 APA Style (American Psychological Association )
                                 หรือ Scientific Style
                 ASA Style (American Sociology Association )
                 CBE Style ( Council of Biology Editors หรือ Scientific Style
                  Harvard Style
                  Index Medicus Style
                  MLA Style ( Modern Language Association )
                  หรือ Humanity Style
                  Vancouver Style / Numbering Style
                  Turabian Style
                  Chicago Style
           นอกจากทีกลาวมานี้ยังมีอกหลายระบบ แตไมคอยนิยมกันจึงไมไดกลาวถึง อยางไรก็ตาม
                     ่             ี
ในที่นี้จะขอแยกระบบตามกลุมสาขาความรูใหญ ๆ เปน 2 กลุม หรือ 2 สาขา คือ
                  1. สาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร
                  2. สาขาวิชาวิทยาศาสตรและการแพทย
3


          1. สาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร
              แบบฟอรมของการเขียนอางอิงในสาขาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตรที่นิยม ใชกนมากั
ในสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มี 3 ระบบ คือ
                 1.1 ระบบเทอราเบียน (Turabian) หรือ Chicago style เดิมทีเดียวระบบนี้เปนที่นยม
                                                                                            ิ
ใชกันมากในสาขาสังคมศาสตร และสาขาวิทยาศาสตร แตตอมาเหลือเพียงสาขาสังคมศาสตรเทานั้น
ยังคงใชอยูไมมากนัก
           
                 1.2 ระบบเอพีเอ APA: American Psychological Association ของสมาคมจิตวิทยา
อเมริกัน ปจจุบันนิยมใชกนมากที่สุดทั้งสาขาสังคมศาสตรและวิทยาศาสตร จนบางคนเรียกวา
                          ั
Scientific Style
                 1.3 ระบบเอ็มแอลเอ (MLA: Modern Language Association) หรือ Humanities
Style ของสมาคมภาษาปจจุบันซึ่งใชกันมากในสาขามนุษยศาสตร
           2. สาขาวิชาวิทยาศาสตรและการแพทย
                   แบบฟอรมของการเขียนอางอิงในสาขาวิทยาศาสตร มีหลายระบบเชนเดียวกันกับ
สาขาสังคมศาสตร แตก็ใชกนอยู 3 ระบบใหญ ๆ เชนกัน คือ
                            ั
                  2.1 ระบบแวนคูเวอร (Vancouver Style) นิยมใชกันมากในสาขาวิทยาศาสตร
การแพทยและสาธารณสุขศาสตร
                  2.2 ระบบเอพีเอ (APA Style) ซึ่งนิยมใชในสาขาวิทยาศาสตรทั่วไปเชนเดียวกัน
ซึ่งเรียกวา Name / Date citation Style หรือ Scientific Style
                   2.3 ระบบซีอีบี (CBE Style) หรือ Scientific Style หรือ Numbering Style
              รูปแบบการเขียนอางอิงทั้ง 2 สาขา 6 ระบบดังกลาว จะมีแบบฟอรมของการอางอิงใน
ลักษณะ 6 แบบดังกลาวแลวขางตนแตกตางกัน ซึ่งในหลายสถาบันการศึกษาของไทยก็ไดเลือกมาใช
แตกตางกัน เชน แบบของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบของมหาวิทยาลัยมหิดล แบบของ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร เปนตน
              ในที่นี้จะขอนําเสนอเฉพาะระบบเอพีเอ(APA) เทานั้นเพราะพบมากในงาน
ทางวิชาการทั้งสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตรและวิทยาศาสตร
4


การอางอิงและบรรณานุกรมระบบAPAหรือระบบนาม-ป
         การอางอิงระบบนาม-ป หรือระบบ APA เปนการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา ตองลงรายการ
สําคัญอยางนอย 2 สวน คือ
         1. ผูแตง ผูผลิต ผูใหขอมูล
         2. ปที่พิมพ ปทผลิต ปที่ปรากฏขอมูล
                                ี่
การอางอิง (อ)
รูปแบบ : (ชื่อ – ชื่อสกุลผูแตง, / ปที่พิมพ: / หนาทีใชอางอิง)
                                                        ่
บรรณานุกรม (บ)
รูปแบบ : ชื่อ – ชื่อสกุลผูแตง. // (ปที่พมพ). // ชื่อหนังสือ (ฉบับที่พมพ). //
                                                ิ                        ิ
              ////////เมืองที่พิมพ: / ผูจัดพิมพ.
         ถาเปนการอางอิงจากสิ่งพิมพ จะมีสวนประกอบที่ 3 เพิ่มเขามา คือ เลขหนาที่ใชในการ
อางอิง ในกรณีที่อางอิงจากบางสวนของเอกสาร หรือคัดลอกบางคําบางสวนมา แตถาเปนการอางอิง
แนวความคิดหรือเก็บความมาทั้งบททั้งเลมก็ไมตองใสเลขหนา ดังตัวอยาง
                การวิเคราะหกจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศจําเปนจะตองศึกษาและหาขอมูลจาก
                                   ิ
ผลผลิตรวมของชาติ(อภินนท จันตะนี, 2543) คือการนํารายไดทั้งหมดของประชาชนทุกคนทุกภาค
                              ั
สวนในรอบ 1 ป เชน คาจาง คาเชา เงินเดือน... ดอกเบีย และกําไรจากการดําเนินกิจการรวมกัน เรียกวา
                                                          ้
เปนรายไดของประชาชนในชาติโดยเรียกเปนทางการวา “รายไดประชาชาติ” (อภินนท จันตะนี, 2543:
                                                                                  ั
หนา 21)
        ตัวอยางการเขียนอางอิงและการเขียนบรรณานุกรม
        1. ผูแตงที่เปนบุคคล
           1.1 ผูแตงคนเดียว ผูแตงชาวไทย ใสชื่อ – ชื่อสกุล โดยไมตองใสคํานําหนานาม ยศ หรือ
ตําแหนงใด ๆยกเวนผูแตงทีมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ เชน
                             ่
ตัวอยาง
การอางอิง (อ) (อภินันท จันตะนี, 2548: 34)
บรรณานุกรม (บ) อภินันท จันตะนี. (2543). เศรษฐศาสตรมหาภาค 1(MACROECONOMICS 1)
                            (พิมพครั้งที3 ปรับปรุงใหม). กรุงเทพฯ: โรงพิมพพิทักษอักษร.
                                         ่
          1.2 ผูแตงชาวตางประเทศ ใสเฉพาะนามสกุล และตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,)
            (R.) (Caline, 2001: 23)
            (B) Caline, R. (2001). Social work, media, and the law. Lawrence, KS: ABC Books.
5


          1.3 ผูแตงที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์
              (อ) (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช, 2528: 17)
              (อ) (พระยาภูมีเสวิน, 2512: 44)
              (อ) (พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต), 2540: 70-72)
              (บ.) คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2528). วัฒนธรรมไทย-จีน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.

          1.4 ผูแตง 2 คน ใสชื่อผูแตงทั้งสอง คั่นดวยคําวา “และ” สําหรับภาษาไทย “&”
สําหรับภาษาอังกฤษ
              (อ.) (กลาณรงค ศรีรอต และเกื้อกูล ปยะจอมขวัญ, 2546: 25)
              (R.) (Bordow, & More, 2001: 29)
             (บ.) กลาณรงค ศรีรอต และเกื้อกูล ปยะจอมขวัญ. (2546). เทคโนโลยีของแปง
                               (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
             (B.) Bordow, A., & More, E. (2001). Managing organizational communication.
                               Sydney: Longman.
          1.5 ผูแตง 3 คนใสชื่อผูแตงทัง 3 คน โดยคั่นคนที่ 1 กับคนที่ 2 ดวยเครื่องหมาย
                                             ้
จุลภาคและคนที่ 2 กับคนที่ 3 คั่นดวยคําวา “และ” สวนภาษาอังกฤษใช “&”
             (อ.) (สมหวัง พิธิยานุวฒน, นฤมล บุลนิม และกนกวรรณ ชูชีพ, 2542: 9)
                                     ั
             (R.) Ubben, Hughes & Norris, 2001: 15
             (B.) Ubben, G.C., Hughes, L.W., & Norris, C.J. (2001). The Principal Ceative
                            Leadershis for Effetive Schools (4th el). Boston: AllyntBorn.
           1.6 ผูแตงจํานวน 3-6 คน ใสชอผูแตง ทั้ง 3-6 คน โดยคั่นคนที่ 1-5 ดวยเครื่องหมายจุลภาค
                                          ื่
(,) คนรองสุดทายกับคนสุดทาย คั่นดวยคําวา “และ” ภาษาอังกฤษ ใช “&”
           (อ.) (จุมพจน วนิชกุล, ชุติมา สัจจานันท, บุญศรี ไพรัตน, พันทิพา มีแตม, รัตนา ณ ลําพูน
                           และ อุทิน รวยอารี, 2539, หนา 75)
          (R.) (Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. L., & Brown, N., 2007: p. 9)
6


          1.8 ผูแตงจํานวนมากกวา 6 คนขึนไป ใหลงตั้งแตผแตงคนที่ 1-6 และตามดวยคําวา
                                               ้                ู
“และคนอื่น ๆ” สําหรับภาษาไทย สวนภาษาอังกฤษใชคาวา “et al.” หรือ “and other”
                                                        ํ
           (อ.) (จุมพจน วนิชกุล, ชุติมา สัจจานันท, บุญศรี ไพรัตน, พันทิพา มีแตม, รัตนา ณ ลําพูน,
                            อุทน รวยอารี, และคนอื่นๆ, 2539, หนา 75)
                               ิ
          (R.) (Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. L., & Brown, N.,
                           Et al., 2007: p. 9)

          1.8 ผูแตงที่ใชนามแฝง ใสนามแฝงแลววงเล็บคําวา (นามแฝง) หรือ (Pseud) ไวหลัง
นามแฝงนั้น ถาทราบนามจริงใหใสนามจริงไวในวงเล็บหลังนามแฝงดวย
               (อ.) (ส. พลายนอย (นามแฝง). 2544: 26-31)
                     (น.ณ. ปากน้ํา (ประยูร อุลุชาฎะ). 2536: 42)
              (R.) (Twain, (Pseud), 1959: 15)
              (บ.) ส.พลายนอย (นามแฝง). (2544). อมนุษยนิยาย (พิมพครั้งที่ 3).
                               กรุงเทพฯ: รวมสาสน.
2. ผูแตงที่เปนสถาบัน
            2.1 กรณีทสถาบันเปนผูแตง ใสชื่อเต็มของสถาบันนั้น ๆ ตามทีปรากฏ
                      ี่                                               ่
      (อ. ) (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541: 15)
       (R.) (British Councill, 1996: 13)
       (บ.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2541). รางตามมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ.
          กรุงเทพฯ: ชมรมหองสมุดเฉพาะสมาคมฯ
            2.2 สถาบันนั้นเปนหนวยงานของรัฐบาล ตองเริ่มตนจากหนวยงานใหญไปหาหนวยงาน
ยอย หรือระดับกรมเปนอยางนอย
       (อ.) (กระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน, 2538: 211)
       (บ.) กระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน. (2538). จะแกปญหาความยากจนในชนบทได
                         อยางไร. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.
7


           2.6 สถาบันที่มีอักษรยอของสถาบันที่เปนทางการ หรือเปนที่ยอมรับกันแพรหลายใหใช
อักษรยอของสถาบันนั้นไดในการอางครั้งตอมา เพื่อไมใหขอความในวงเล็บยาวเกินไป แตการอาง
ครั้งแรกใหใชชื่อเต็ม
              (สํานักคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2541: 10-11)
              (ก.พ. 2538: 10-16)
              (ร.ส.พ. 2540: 49)
               (ป.ป.ส. 2541: 39)

          (หมายเหตุ: มีรายละเอียดอีกมาก ในที่นี้ขอตัดตอนบางสวนทีจําเปน ถาตองการรายละเอียด
                                                                    ่
ติดตามไดจากเอกสารอางอิง)
        13. รายงานทางวิชาการ รายงานการวิจัย (Technical and Research Reports)
        รายงานทางวิชาการ
    (อ.) (บุญมา พงษโหมด, ชุตินันท บุญฉ่ํา, คนึงนิตย ชื่นคา, และอมรา พงษปญญา, 2542)
    (บ.) บุญมา พงษโหมด, ชุตินันท บุญฉ่ํา, คนึงนิตย ชื่นคา, และอมรา พงษปญญา. (2542).
                     งานวิจัยเรื่องการศึกษาสภาพแวดลอมวัดโสธรวรารมวรวิหาร. ฉะเชิงเทรา:
                      สถาบันราชภัฏราชนครินทร.

       รายงานประเภทสิ่งพิมพรัฐบาล
         (อ.) (คณะกรรมการติดตามผลการมีงานทําของบัณฑิต, 2542)
         (บ.) คณะกรรมการติดตามผลการมีงานทําของบัณฑิต. (2542). รายงานการติดตามผล
                      ผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา ปการศึกษา 2540-2541.
                      กรุงเทพฯ: สํานักวิจยและฝายทะเบียนวัดผล สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
                                            ั
       เอกสารนําเสนอผลงานในที่ประชุม (Poster session)
         (อ.) (ขบวน พลตรี, 2542, 12 พฤษภาคม)
         (บ.) ขบวน พลตรี. (2542, 12 พฤษภาคม). เอกสารประกอบการนําเสนอผลงานวิจัยเรื่อง
                          ฮีตสิบสองคลองสิบสี่กับการพัฒนาชุมชน. การประชุมสัมมนาวิชาการ
                          ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ.
8




           บรรณานุกรมวารสารลักษณะตางๆ
นิสา เมลานนท. (2542, กรกฎาคม). “ละครชาตรีเมืองแปดริ้ว, “ราชภัฏราชนครินทร. 2(5): 2 – 6.
จุฑาทิพย คลายทับทิม. (2550, กรกรฏาคม-ธันวาคม). “ประเทศไทยกับความตกลงหุนสวนที่
           เศรษฐกิจไทย – ญี่ปุน(JTEPA),” วารสารสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. 33(2): 23-39.
ประเวศ วะสี. (2542, สิงหาคม). “ปวย อึงภากรณ,” ดอกเบี้ย. 17(218): 38 – 39.
                                         ้
พูนพิสมัย ดิศกุล, ม.จ. (2542). “สิ่งพิมพที่ขาพเจาพบเห็น: เสียเมือง (1), “มติชน. 109 (994): 37
           ฉลาดชาย รมิตานนท และไชยันต รัชชกุล. (2541, กรกฎาคม – ธันวาคม). “Ethnography:
           บทสอนวาดวยการศึกษา / การเขียนเรื่องราวของคนอื่น, สังคมศาสตร.
           11(1): 54 – 57.
พิชัย จัทนมณี และดลธรรม เอฬกานนท. (2550, กรกฏาคม). “การศึกษาพฤติกรรมแอนไอโซ
          ทรอปกของโลหะแผนที่มีตอการเกิดรอยติ่งในการขึ้นรูปทรงกระบอก,” วารสารวิชาการ
          มหาวิทยาลัยธนบุรี. 1(1): 77-85.
กานดา มากหมื่นไวย ยุพยงค บุญทวี และ สุดสายชล หอมทอง. (2550, มกราคม-มิถุนายน).
            “คุณภาพทางชีววิทยาของนมผงและเนยแข็ง,” วารสารวิทยาศาสตรบูรพา. 12(1): 53-62.
พิมพชนก ไสไทย และคนอื่น ๆ. (2550, ตุลาคม-ธันวาคม). “การสังเคราะหน้ํามันถั่วเหลือง,”
              วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 30(4): 583-589.
 ‘รงค วงษสวรรค. (2542, กันยายน). “ภาพอดีตนักเขียน,” ศิลปวัฒนธรรม. 20(11): 64 – 67.
ศักดิ์ ฉิมงาม. (2544, เมษายน). “โทรโยกเสียงกึกกองของสายน้ําแหงความทรงจํา,” คุณหญิง.
           6(141): 95-95.
ผีเสื้อสมุทร. (นามแฝง). (2542, สิงหาคม). “ดอยหัวแมคํา,” แคมปงทองเที่ยว. 15(179): 30 – 32.
พิณ. (นามแฝง). (2544, กรกฏาคม). “เรื่องของคนอยากสูง,” คูสรางคูสม. 22(397): 31.
                                                                   
“จากใจ...ใจ อึ้งภากรณ ลูกชายคนเล็กของ ดร.ปวย,” (2542, สิงหาคม). ดอกเบี้ย. 17(218): 40 -41.
“ตะพาบน้ําเมืองตราดเรงเพิมพอแมพันธุ,” (2546, พฤศจิกายน). สัตวน้ํา. 15(171): 141-146.
                            ่
เกริก ยุนพันธ. (2541). “เขียนหนังสือสําหรับเด็กคิดแบบเด็ก.” มนุษยศาสตรปริทรรศน. 20.
         
           (ภาคเรียนที่ 2): 17 – 20.
เรืองชัย ทรัพยนิรันดร. (2542, 7 กันยายน). “วางบิล: สาธิตราชภัฏ,” มติชนสุดสัปดาห.
           9(994): 41.
9


   Authors: Most sources will include an author. In APA style authors are formatted
as follows:
     o 1 author: Smith, J.
     o 2 authors: Smith, J., & Jones, M.
     o 3 authors: Smith, J., Jones, M., & Johnson, R.
     o 4 authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., & Miller, M.
     o 5 authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., & Lopez, D. L.
     o 6 authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. L., & Brown, N.
     o 7 or more authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. R.,
                  Brown, N., et al.
   Dates: Enclose the date (year first) in parenthesis after the author‟s name, follow
with a period.
      o Year only: (2007)
      o Complete date: (2007, September 12)
      o Month/Year: (2007, September)
      o Two Months: (2007, September/October)
   Titles: Titles come after the date. Use the formats below for different types of
titles
       o Titles of Books: Italicize the title, but do not capitalize any words except the
          first word, propernouns and the first word of a subtitle. Example: Math for
          meds: Dosages and solutions
       o Title of articles, poems, short stories or other short works: Same capitalization
          rules as forbook titles, but do not italicize. Example: Aging in place: A new
          model
       o Title of periodicals: Italicize the title and capitalize major words. Example:
         Journal of Marriage and the Family
   Publication Information: Give complete place of publication and the publisher.
Example: Novi, MI: Gale
   Electronic Access Information: For online resources add a retrieval statement
that includes the date ofaccess, the name of the database, or the URL of the website.
Example: Retrieved from JSTOR database
Examples:
Book
Gorman, J. M. (1996). The new psychiatry: The essential guide to state-of-the-art
        therapy, medication and emotional health. New York: St. Martin¡¦s Press.
Magazine article
Cowley, G. (2000, January 31). Alzheimer¡¦s: Unlocking the mystery. Newsweek, 135,
        46-54.
Journal Article (continuous page numbering)
Lindahl, K. M. & Malik, N. M. (1991). Observations of marital conflict and power:
          Relations with parenting in the triad. Journal of Marriage and the Family, 61,
          320-330.
10


Journal Article (begins each issue on page one)
      Add the issue number in parentheses directly after the volume number. In the
example below .24(3). Signifies volume 24, issue 3.

Marek, K. D. & Rantz, M. J. (2000). Aging in place: A new model for long term care.
        Nursing Administration Quarterly, 24(3), 1-11.
Newspaper Article
Woodward, C. (2000, April 24). Storm surrounds raid as Elian has quiet Easter. The
       Daily Commercial, p. A1.
Book from database
Brockopp, D.Y. (1995). Fundamentals of nursing research [Electronic version]. Boston:
        Jones & Bartlett Publishers, Inc. Retrieved from netLibrary database.
Magazine Article from database
Kelly, B. (2007, August 27). The story behind the rankings. U.S. News and World
          Reports, 143, 4. Retrieved from General Onefile database. 3 2/4/2010
Journal article from database
Brown, P. (2006). Answers to key questions about childhood leukemia--for the
         generalist. Contemporary Pediatrics, 23(3), 81-84. Retrieved from CINAHL
         Plus with Full Text database.
Newspaper article from database
Henderson, D. (2006, August 29). FDA to take a harder look at custom blending of drugs.
         The Boston Globe. Retrieved from America¡¦s Newspapers database.
         Citing an online book (Not from a library database)
Robinson, P. (1993). Freud and his critics [Electronic version]. Berkeley: University of
         California Press. Retrieved fromhttp://escholarship.
         cdlib.org/ucpress/robinson.xml
     สรุป การลงรายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารที่นํามาอางอิงแทรกในเนื้อหา ตองมี
รายละเอียดอางอิงที่สมบูรณปรากฏในหนาบรรณานุกรมทายเลมทุกรายการ
    ซึ่งพอสรุปหลักเกณฑทั่วไปในการเขียนหรือพิมพบรรณานุกรม ดังนี้
1.เมื่อผูเขียนรายงานเลือกรูปแบบใด หรือของสถาบันใดแลว ก็ตองใชรูปแบบ
นั้นตลอด
           2.กอถึงหนาบรรณานุกรมหรือจะใชคําวารายการเอกสารอางอิง จะตองมีหนาบอกตอ
โดยพิมพคําวา “บรรณานุกรม” หรือ “เอกสารอางอิง” สวนบนหรือกึ่งกลางหนากระดาษ หรือ
“BIBLIOGRAPHY” หรือ “REFERANCES” ดวยตัวอักษรพิมพใหญทั้งหมด ถารายการอางอิงและ
บรรณานุกรมมีนอยก็ไมตองมีหนาบอกตอนก็ได
              3.หนาแรกของบรรณานุกรม พิมพคําวา “บรรณานุกรม” หรือ “BIBLIOGRAPHY”
 หรือ“เอกสารอางอิง” หรือ “REFERANCES” “ไวกลางหนากระดาษสวนบน หางจากริมกระดาษขอบบน
1.5 นิ้ว
11


           4. เริ่มบรรณานุกรมแตละรายการ ใหพิมพชิดขอบซาย หากบรรณานุกรมมีความยาวเกินบรรทัดใหขึ้น
บรรทัดใหม โดยยอหนาเขาไป 8 ชวงตัวอักษร (บางตํารา 5, 7 บางตํารา 8) เริ่มพิมพในชวงตัวอักษรที่ 9 (6, 8, 9)
เทากันทุกบรรทัด จนจบบรรณานุกรมแตละรายการ
    5. ถาบรรณานุกรมนั้นมีผูแตงซ้ํากัน ใหขีดเสน 8 ชวงตัวอักษร ตามดวยจุด (.) ไมตอง
ชื่อผูแตงอีก เชน                        .
    6. ไมตองใสเลขลําดับรายการบรรณานุกรม
    7. การเรียงลําดับรายการบรรณานุกรม
    7.1 เรียงรายการบรรณานุกรมภาษาไทยกอนภาษาอังกฤษ
    7.2 กรณีรายการบรรณานุกรมที่มีผูแตงคนแรกเหมือนกัน ยึดหลักดังนี้
    7.2.1 ผูแตงคนเดียวเรียงไวกอนผูแตงหลายคน
    7.2.2 ผูแตงคนแรกเหมือนกัน ใหเรียงลําดับอักษรของผูแตงคนตอมา
   7.2.3 ผูแตงซ้ํากันทั้งหมด ใหเรียงล้ําดับตามปที่พิมพจากปที่นอยไปหาปที่มาก กรณี
ที่ไมปรากฏปที่พิมพ ใหใส ม.ป.ป. และเรียงไวอันดับหลัง
   7.2.4 ถาปที่พิมพซ้ํากัน ใหเรียงตามลําดับตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง
    7.3 สําหรับภาษาอังกฤษ หากมีคําที่ขึ้นตนเปน article ไมตองนํามาใชในการเรียง ให
เรียงตามลําดับอักษรของคําถัดมา
    8. การเวนระยะหลังเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี้
     8.1 หลังเครื่องหมายมหัพภาค (.) เวน 2 ระยะ //
     8.2 หลังเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ /
     8.3 หลังเครื่องหมายอัฒภาค (;) เวน 1 ระยะ /
     8.4 หลังเครื่องหมายมหัพภาคคู (:) เวน 1 ระยะ /
หมายเหตุ 1. ชื่อหนังสือ ใหพิมพดวยอักษรตัวหนาหรือตัวเอียง สําหรับภาษาอังกฤษ
                                  
            ตัวแรกใหพิมพดวยตัวพิมพใหญ ยกเวนคําบุพบท สันธาน
                             
         2. ครั้งที่พิมพ หากเปนพิมพครั้งแรกไมตองลงรายการที่พิมพ
         3. เครื่องหมาย / หมายถึงการเวนวรรค 1 ตัวอักษร

More Related Content

บทความอ้า..

  • 1. 1 การอางอิงและบรรณานุกรม ไพรสิทธิ์ ศรีสุทธิเกิดพร การเขียนอางอิงและทําบรรณานุกรมนับเปนเรื่องสําคัญสําหรับงานวิจัย และ โดยเฉพาะอยางยิ่งการทําวิทยานิพนธ การทํารายงาน การทําผลงานทางวิชาการ เชน ตํารา เอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอน และบทความทางวิชาการ ซึ่งผลงานเหลานี้เปน งานที่มีแบบแผน ตองการความประณีต ถูกตอง ชัดเจน ในการเขียน การเรียบเรียง และ จําเปนอยางยิ่งที่ตองศึกษาคนควา รวบรวมสารสนเทศจากแหลงตางๆมาประกอบการเขียน เพื่อใหผลงานนั้นเปนงานวิชาการที่มีคุณคานาเชื่อถือ มีความถูกตองทางวิชาการและเปน พื้นฐานทางความคิด เพื่อใหเกิดแนวคิดที่เปนผลงานของตนเอง และผลงานขั้นสูงตอไป ผลงานวิชาการที่ดีจะตองบอกแหลงที่มาของขอมูลถูกตองทันสมัย ตามรูปแบบการเขียน อางอิงและการเขียนบรรณานุกรม รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่เปนที่นิยมของศาสตรนั้นๆ เพื่อ ชวยใหผูอานหรือผูศึกษาทราบแหลงที่มาของขอมูล เพื่อนําไปศึกษาคนควาหาคําตอบหา ขอเท็จจริง หรือตรวจสอบหาหลักฐานตอไป หลักการในการเขียนอางอิงและทําบรรณานุกรม 1. ทานตองศึกษารูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรมรูปแบบตางๆให เขาใจและตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เขาใจและเปนที่นิยม 2. ผลงานที่ทานเขียนหรือเรียบเรียง เมื่อเขียนอางอิงและบรรณานุกรมจะตอง เปนระบบเดียวกันตลอดชิ้นงานนั้นของทาน บางครั้งทานอาจจะศึกษาจากเอกสาร ตํารา เปนจํานวนมาก และแตละเลมอาจจะใชวิธีการอางอิงไมเหมือนกัน โอกาสทําใหทานเผลอ ใชรูปแบบหลายรูปแบบโดยไมรูตัวได 3. การอางอิงเอกสารที่ตีพิมพ ควรหาตนฉบับที่ใชอางอิงโดยตรง การอางอิง ตามที่ผูอื่นอางไว อาจพิมพผิดไว เชน สะกดชื่อผูแตงผิด ปที่พิมพ หรือลาสมัยไป ดังนั้นการ อางอิงจากแหลงรองควรใชในกรณีที่ไมสามารถหาเอกสารตัวจริงได
  • 2. 2 4. การอางอิงที่ปรากฏในเนื้อหาทั้งหมดของทาน จะตองนําไปเขียนใน บรรณานุกรมใหครบถวนทุกรายการ 5. กอนนําไปเผยแพรหรือตีพิมพควรตรวจการเขียนอางอิงและ บรรณานุกรมใหถูกตองครบถวน ทั้งขอความการอางอิงและรูปแบบ รูปแบบการอางอิงและบรรณานุกรม การอางอิงและบรรณานุกรม ที่ปรากฎแพรหลายอยูในงานทางวิชาการทั้งในประเทศ  และตางประเทศจะมีแบบฟอรมของการอางอิงอยูมากกวา 10 ระบบ เชน ACS Style (American Chemical Society) APSA Style (American Political Science Association AMA Style (American Medical Association) APA Style (American Psychological Association ) หรือ Scientific Style ASA Style (American Sociology Association ) CBE Style ( Council of Biology Editors หรือ Scientific Style Harvard Style Index Medicus Style MLA Style ( Modern Language Association ) หรือ Humanity Style Vancouver Style / Numbering Style Turabian Style Chicago Style นอกจากทีกลาวมานี้ยังมีอกหลายระบบ แตไมคอยนิยมกันจึงไมไดกลาวถึง อยางไรก็ตาม ่ ี ในที่นี้จะขอแยกระบบตามกลุมสาขาความรูใหญ ๆ เปน 2 กลุม หรือ 2 สาขา คือ 1. สาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 2. สาขาวิชาวิทยาศาสตรและการแพทย
  • 3. 3 1. สาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร แบบฟอรมของการเขียนอางอิงในสาขาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตรที่นิยม ใชกนมากั ในสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มี 3 ระบบ คือ 1.1 ระบบเทอราเบียน (Turabian) หรือ Chicago style เดิมทีเดียวระบบนี้เปนที่นยม ิ ใชกันมากในสาขาสังคมศาสตร และสาขาวิทยาศาสตร แตตอมาเหลือเพียงสาขาสังคมศาสตรเทานั้น ยังคงใชอยูไมมากนัก  1.2 ระบบเอพีเอ APA: American Psychological Association ของสมาคมจิตวิทยา อเมริกัน ปจจุบันนิยมใชกนมากที่สุดทั้งสาขาสังคมศาสตรและวิทยาศาสตร จนบางคนเรียกวา ั Scientific Style 1.3 ระบบเอ็มแอลเอ (MLA: Modern Language Association) หรือ Humanities Style ของสมาคมภาษาปจจุบันซึ่งใชกันมากในสาขามนุษยศาสตร 2. สาขาวิชาวิทยาศาสตรและการแพทย แบบฟอรมของการเขียนอางอิงในสาขาวิทยาศาสตร มีหลายระบบเชนเดียวกันกับ สาขาสังคมศาสตร แตก็ใชกนอยู 3 ระบบใหญ ๆ เชนกัน คือ ั 2.1 ระบบแวนคูเวอร (Vancouver Style) นิยมใชกันมากในสาขาวิทยาศาสตร การแพทยและสาธารณสุขศาสตร 2.2 ระบบเอพีเอ (APA Style) ซึ่งนิยมใชในสาขาวิทยาศาสตรทั่วไปเชนเดียวกัน ซึ่งเรียกวา Name / Date citation Style หรือ Scientific Style 2.3 ระบบซีอีบี (CBE Style) หรือ Scientific Style หรือ Numbering Style รูปแบบการเขียนอางอิงทั้ง 2 สาขา 6 ระบบดังกลาว จะมีแบบฟอรมของการอางอิงใน ลักษณะ 6 แบบดังกลาวแลวขางตนแตกตางกัน ซึ่งในหลายสถาบันการศึกษาของไทยก็ไดเลือกมาใช แตกตางกัน เชน แบบของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบของมหาวิทยาลัยมหิดล แบบของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร เปนตน ในที่นี้จะขอนําเสนอเฉพาะระบบเอพีเอ(APA) เทานั้นเพราะพบมากในงาน ทางวิชาการทั้งสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตรและวิทยาศาสตร
  • 4. 4 การอางอิงและบรรณานุกรมระบบAPAหรือระบบนาม-ป การอางอิงระบบนาม-ป หรือระบบ APA เปนการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา ตองลงรายการ สําคัญอยางนอย 2 สวน คือ 1. ผูแตง ผูผลิต ผูใหขอมูล 2. ปที่พิมพ ปทผลิต ปที่ปรากฏขอมูล ี่ การอางอิง (อ) รูปแบบ : (ชื่อ – ชื่อสกุลผูแตง, / ปที่พิมพ: / หนาทีใชอางอิง) ่ บรรณานุกรม (บ) รูปแบบ : ชื่อ – ชื่อสกุลผูแตง. // (ปที่พมพ). // ชื่อหนังสือ (ฉบับที่พมพ). // ิ ิ ////////เมืองที่พิมพ: / ผูจัดพิมพ. ถาเปนการอางอิงจากสิ่งพิมพ จะมีสวนประกอบที่ 3 เพิ่มเขามา คือ เลขหนาที่ใชในการ อางอิง ในกรณีที่อางอิงจากบางสวนของเอกสาร หรือคัดลอกบางคําบางสวนมา แตถาเปนการอางอิง แนวความคิดหรือเก็บความมาทั้งบททั้งเลมก็ไมตองใสเลขหนา ดังตัวอยาง การวิเคราะหกจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศจําเปนจะตองศึกษาและหาขอมูลจาก ิ ผลผลิตรวมของชาติ(อภินนท จันตะนี, 2543) คือการนํารายไดทั้งหมดของประชาชนทุกคนทุกภาค ั สวนในรอบ 1 ป เชน คาจาง คาเชา เงินเดือน... ดอกเบีย และกําไรจากการดําเนินกิจการรวมกัน เรียกวา ้ เปนรายไดของประชาชนในชาติโดยเรียกเปนทางการวา “รายไดประชาชาติ” (อภินนท จันตะนี, 2543: ั หนา 21) ตัวอยางการเขียนอางอิงและการเขียนบรรณานุกรม 1. ผูแตงที่เปนบุคคล 1.1 ผูแตงคนเดียว ผูแตงชาวไทย ใสชื่อ – ชื่อสกุล โดยไมตองใสคํานําหนานาม ยศ หรือ ตําแหนงใด ๆยกเวนผูแตงทีมีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ เชน ่ ตัวอยาง การอางอิง (อ) (อภินันท จันตะนี, 2548: 34) บรรณานุกรม (บ) อภินันท จันตะนี. (2543). เศรษฐศาสตรมหาภาค 1(MACROECONOMICS 1) (พิมพครั้งที3 ปรับปรุงใหม). กรุงเทพฯ: โรงพิมพพิทักษอักษร. ่ 1.2 ผูแตงชาวตางประเทศ ใสเฉพาะนามสกุล และตามดวยเครื่องหมายจุลภาค (,) (R.) (Caline, 2001: 23) (B) Caline, R. (2001). Social work, media, and the law. Lawrence, KS: ABC Books.
  • 5. 5 1.3 ผูแตงที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ (อ) (ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช, 2528: 17) (อ) (พระยาภูมีเสวิน, 2512: 44) (อ) (พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต), 2540: 70-72) (บ.) คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2528). วัฒนธรรมไทย-จีน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. 1.4 ผูแตง 2 คน ใสชื่อผูแตงทั้งสอง คั่นดวยคําวา “และ” สําหรับภาษาไทย “&” สําหรับภาษาอังกฤษ (อ.) (กลาณรงค ศรีรอต และเกื้อกูล ปยะจอมขวัญ, 2546: 25) (R.) (Bordow, & More, 2001: 29) (บ.) กลาณรงค ศรีรอต และเกื้อกูล ปยะจอมขวัญ. (2546). เทคโนโลยีของแปง (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (B.) Bordow, A., & More, E. (2001). Managing organizational communication. Sydney: Longman. 1.5 ผูแตง 3 คนใสชื่อผูแตงทัง 3 คน โดยคั่นคนที่ 1 กับคนที่ 2 ดวยเครื่องหมาย ้ จุลภาคและคนที่ 2 กับคนที่ 3 คั่นดวยคําวา “และ” สวนภาษาอังกฤษใช “&” (อ.) (สมหวัง พิธิยานุวฒน, นฤมล บุลนิม และกนกวรรณ ชูชีพ, 2542: 9) ั (R.) Ubben, Hughes & Norris, 2001: 15 (B.) Ubben, G.C., Hughes, L.W., & Norris, C.J. (2001). The Principal Ceative Leadershis for Effetive Schools (4th el). Boston: AllyntBorn. 1.6 ผูแตงจํานวน 3-6 คน ใสชอผูแตง ทั้ง 3-6 คน โดยคั่นคนที่ 1-5 ดวยเครื่องหมายจุลภาค ื่ (,) คนรองสุดทายกับคนสุดทาย คั่นดวยคําวา “และ” ภาษาอังกฤษ ใช “&” (อ.) (จุมพจน วนิชกุล, ชุติมา สัจจานันท, บุญศรี ไพรัตน, พันทิพา มีแตม, รัตนา ณ ลําพูน และ อุทิน รวยอารี, 2539, หนา 75) (R.) (Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. L., & Brown, N., 2007: p. 9)
  • 6. 6 1.8 ผูแตงจํานวนมากกวา 6 คนขึนไป ใหลงตั้งแตผแตงคนที่ 1-6 และตามดวยคําวา ้ ู “และคนอื่น ๆ” สําหรับภาษาไทย สวนภาษาอังกฤษใชคาวา “et al.” หรือ “and other” ํ (อ.) (จุมพจน วนิชกุล, ชุติมา สัจจานันท, บุญศรี ไพรัตน, พันทิพา มีแตม, รัตนา ณ ลําพูน, อุทน รวยอารี, และคนอื่นๆ, 2539, หนา 75) ิ (R.) (Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. L., & Brown, N., Et al., 2007: p. 9) 1.8 ผูแตงที่ใชนามแฝง ใสนามแฝงแลววงเล็บคําวา (นามแฝง) หรือ (Pseud) ไวหลัง นามแฝงนั้น ถาทราบนามจริงใหใสนามจริงไวในวงเล็บหลังนามแฝงดวย (อ.) (ส. พลายนอย (นามแฝง). 2544: 26-31) (น.ณ. ปากน้ํา (ประยูร อุลุชาฎะ). 2536: 42) (R.) (Twain, (Pseud), 1959: 15) (บ.) ส.พลายนอย (นามแฝง). (2544). อมนุษยนิยาย (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: รวมสาสน. 2. ผูแตงที่เปนสถาบัน 2.1 กรณีทสถาบันเปนผูแตง ใสชื่อเต็มของสถาบันนั้น ๆ ตามทีปรากฏ ี่ ่ (อ. ) (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2541: 15) (R.) (British Councill, 1996: 13) (บ.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2541). รางตามมาตรฐานการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ: ชมรมหองสมุดเฉพาะสมาคมฯ 2.2 สถาบันนั้นเปนหนวยงานของรัฐบาล ตองเริ่มตนจากหนวยงานใหญไปหาหนวยงาน ยอย หรือระดับกรมเปนอยางนอย (อ.) (กระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน, 2538: 211) (บ.) กระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน. (2538). จะแกปญหาความยากจนในชนบทได อยางไร. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.
  • 7. 7 2.6 สถาบันที่มีอักษรยอของสถาบันที่เปนทางการ หรือเปนที่ยอมรับกันแพรหลายใหใช อักษรยอของสถาบันนั้นไดในการอางครั้งตอมา เพื่อไมใหขอความในวงเล็บยาวเกินไป แตการอาง ครั้งแรกใหใชชื่อเต็ม (สํานักคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2541: 10-11) (ก.พ. 2538: 10-16) (ร.ส.พ. 2540: 49) (ป.ป.ส. 2541: 39) (หมายเหตุ: มีรายละเอียดอีกมาก ในที่นี้ขอตัดตอนบางสวนทีจําเปน ถาตองการรายละเอียด ่ ติดตามไดจากเอกสารอางอิง) 13. รายงานทางวิชาการ รายงานการวิจัย (Technical and Research Reports) รายงานทางวิชาการ (อ.) (บุญมา พงษโหมด, ชุตินันท บุญฉ่ํา, คนึงนิตย ชื่นคา, และอมรา พงษปญญา, 2542) (บ.) บุญมา พงษโหมด, ชุตินันท บุญฉ่ํา, คนึงนิตย ชื่นคา, และอมรา พงษปญญา. (2542). งานวิจัยเรื่องการศึกษาสภาพแวดลอมวัดโสธรวรารมวรวิหาร. ฉะเชิงเทรา: สถาบันราชภัฏราชนครินทร. รายงานประเภทสิ่งพิมพรัฐบาล (อ.) (คณะกรรมการติดตามผลการมีงานทําของบัณฑิต, 2542) (บ.) คณะกรรมการติดตามผลการมีงานทําของบัณฑิต. (2542). รายงานการติดตามผล ผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันราชภัฏสวนสุนันทา ปการศึกษา 2540-2541. กรุงเทพฯ: สํานักวิจยและฝายทะเบียนวัดผล สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา. ั เอกสารนําเสนอผลงานในที่ประชุม (Poster session) (อ.) (ขบวน พลตรี, 2542, 12 พฤษภาคม) (บ.) ขบวน พลตรี. (2542, 12 พฤษภาคม). เอกสารประกอบการนําเสนอผลงานวิจัยเรื่อง ฮีตสิบสองคลองสิบสี่กับการพัฒนาชุมชน. การประชุมสัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ.
  • 8. 8 บรรณานุกรมวารสารลักษณะตางๆ นิสา เมลานนท. (2542, กรกฎาคม). “ละครชาตรีเมืองแปดริ้ว, “ราชภัฏราชนครินทร. 2(5): 2 – 6. จุฑาทิพย คลายทับทิม. (2550, กรกรฏาคม-ธันวาคม). “ประเทศไทยกับความตกลงหุนสวนที่ เศรษฐกิจไทย – ญี่ปุน(JTEPA),” วารสารสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. 33(2): 23-39. ประเวศ วะสี. (2542, สิงหาคม). “ปวย อึงภากรณ,” ดอกเบี้ย. 17(218): 38 – 39. ้ พูนพิสมัย ดิศกุล, ม.จ. (2542). “สิ่งพิมพที่ขาพเจาพบเห็น: เสียเมือง (1), “มติชน. 109 (994): 37 ฉลาดชาย รมิตานนท และไชยันต รัชชกุล. (2541, กรกฎาคม – ธันวาคม). “Ethnography: บทสอนวาดวยการศึกษา / การเขียนเรื่องราวของคนอื่น, สังคมศาสตร. 11(1): 54 – 57. พิชัย จัทนมณี และดลธรรม เอฬกานนท. (2550, กรกฏาคม). “การศึกษาพฤติกรรมแอนไอโซ ทรอปกของโลหะแผนที่มีตอการเกิดรอยติ่งในการขึ้นรูปทรงกระบอก,” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี. 1(1): 77-85. กานดา มากหมื่นไวย ยุพยงค บุญทวี และ สุดสายชล หอมทอง. (2550, มกราคม-มิถุนายน). “คุณภาพทางชีววิทยาของนมผงและเนยแข็ง,” วารสารวิทยาศาสตรบูรพา. 12(1): 53-62. พิมพชนก ไสไทย และคนอื่น ๆ. (2550, ตุลาคม-ธันวาคม). “การสังเคราะหน้ํามันถั่วเหลือง,” วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. 30(4): 583-589. ‘รงค วงษสวรรค. (2542, กันยายน). “ภาพอดีตนักเขียน,” ศิลปวัฒนธรรม. 20(11): 64 – 67. ศักดิ์ ฉิมงาม. (2544, เมษายน). “โทรโยกเสียงกึกกองของสายน้ําแหงความทรงจํา,” คุณหญิง. 6(141): 95-95. ผีเสื้อสมุทร. (นามแฝง). (2542, สิงหาคม). “ดอยหัวแมคํา,” แคมปงทองเที่ยว. 15(179): 30 – 32. พิณ. (นามแฝง). (2544, กรกฏาคม). “เรื่องของคนอยากสูง,” คูสรางคูสม. 22(397): 31.  “จากใจ...ใจ อึ้งภากรณ ลูกชายคนเล็กของ ดร.ปวย,” (2542, สิงหาคม). ดอกเบี้ย. 17(218): 40 -41. “ตะพาบน้ําเมืองตราดเรงเพิมพอแมพันธุ,” (2546, พฤศจิกายน). สัตวน้ํา. 15(171): 141-146. ่ เกริก ยุนพันธ. (2541). “เขียนหนังสือสําหรับเด็กคิดแบบเด็ก.” มนุษยศาสตรปริทรรศน. 20.  (ภาคเรียนที่ 2): 17 – 20. เรืองชัย ทรัพยนิรันดร. (2542, 7 กันยายน). “วางบิล: สาธิตราชภัฏ,” มติชนสุดสัปดาห. 9(994): 41.
  • 9. 9 Authors: Most sources will include an author. In APA style authors are formatted as follows: o 1 author: Smith, J. o 2 authors: Smith, J., & Jones, M. o 3 authors: Smith, J., Jones, M., & Johnson, R. o 4 authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., & Miller, M. o 5 authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., & Lopez, D. L. o 6 authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. L., & Brown, N. o 7 or more authors: Smith, J., Jones, M., Johnson, R., Miller, M., Lopez, D. R., Brown, N., et al. Dates: Enclose the date (year first) in parenthesis after the author‟s name, follow with a period. o Year only: (2007) o Complete date: (2007, September 12) o Month/Year: (2007, September) o Two Months: (2007, September/October) Titles: Titles come after the date. Use the formats below for different types of titles o Titles of Books: Italicize the title, but do not capitalize any words except the first word, propernouns and the first word of a subtitle. Example: Math for meds: Dosages and solutions o Title of articles, poems, short stories or other short works: Same capitalization rules as forbook titles, but do not italicize. Example: Aging in place: A new model o Title of periodicals: Italicize the title and capitalize major words. Example: Journal of Marriage and the Family Publication Information: Give complete place of publication and the publisher. Example: Novi, MI: Gale Electronic Access Information: For online resources add a retrieval statement that includes the date ofaccess, the name of the database, or the URL of the website. Example: Retrieved from JSTOR database Examples: Book Gorman, J. M. (1996). The new psychiatry: The essential guide to state-of-the-art therapy, medication and emotional health. New York: St. Martin¡¦s Press. Magazine article Cowley, G. (2000, January 31). Alzheimer¡¦s: Unlocking the mystery. Newsweek, 135, 46-54. Journal Article (continuous page numbering) Lindahl, K. M. & Malik, N. M. (1991). Observations of marital conflict and power: Relations with parenting in the triad. Journal of Marriage and the Family, 61, 320-330.
  • 10. 10 Journal Article (begins each issue on page one) Add the issue number in parentheses directly after the volume number. In the example below .24(3). Signifies volume 24, issue 3. Marek, K. D. & Rantz, M. J. (2000). Aging in place: A new model for long term care. Nursing Administration Quarterly, 24(3), 1-11. Newspaper Article Woodward, C. (2000, April 24). Storm surrounds raid as Elian has quiet Easter. The Daily Commercial, p. A1. Book from database Brockopp, D.Y. (1995). Fundamentals of nursing research [Electronic version]. Boston: Jones & Bartlett Publishers, Inc. Retrieved from netLibrary database. Magazine Article from database Kelly, B. (2007, August 27). The story behind the rankings. U.S. News and World Reports, 143, 4. Retrieved from General Onefile database. 3 2/4/2010 Journal article from database Brown, P. (2006). Answers to key questions about childhood leukemia--for the generalist. Contemporary Pediatrics, 23(3), 81-84. Retrieved from CINAHL Plus with Full Text database. Newspaper article from database Henderson, D. (2006, August 29). FDA to take a harder look at custom blending of drugs. The Boston Globe. Retrieved from America¡¦s Newspapers database. Citing an online book (Not from a library database) Robinson, P. (1993). Freud and his critics [Electronic version]. Berkeley: University of California Press. Retrieved fromhttp://escholarship. cdlib.org/ucpress/robinson.xml สรุป การลงรายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารที่นํามาอางอิงแทรกในเนื้อหา ตองมี รายละเอียดอางอิงที่สมบูรณปรากฏในหนาบรรณานุกรมทายเลมทุกรายการ ซึ่งพอสรุปหลักเกณฑทั่วไปในการเขียนหรือพิมพบรรณานุกรม ดังนี้ 1.เมื่อผูเขียนรายงานเลือกรูปแบบใด หรือของสถาบันใดแลว ก็ตองใชรูปแบบ นั้นตลอด 2.กอถึงหนาบรรณานุกรมหรือจะใชคําวารายการเอกสารอางอิง จะตองมีหนาบอกตอ โดยพิมพคําวา “บรรณานุกรม” หรือ “เอกสารอางอิง” สวนบนหรือกึ่งกลางหนากระดาษ หรือ “BIBLIOGRAPHY” หรือ “REFERANCES” ดวยตัวอักษรพิมพใหญทั้งหมด ถารายการอางอิงและ บรรณานุกรมมีนอยก็ไมตองมีหนาบอกตอนก็ได 3.หนาแรกของบรรณานุกรม พิมพคําวา “บรรณานุกรม” หรือ “BIBLIOGRAPHY” หรือ“เอกสารอางอิง” หรือ “REFERANCES” “ไวกลางหนากระดาษสวนบน หางจากริมกระดาษขอบบน 1.5 นิ้ว
  • 11. 11 4. เริ่มบรรณานุกรมแตละรายการ ใหพิมพชิดขอบซาย หากบรรณานุกรมมีความยาวเกินบรรทัดใหขึ้น บรรทัดใหม โดยยอหนาเขาไป 8 ชวงตัวอักษร (บางตํารา 5, 7 บางตํารา 8) เริ่มพิมพในชวงตัวอักษรที่ 9 (6, 8, 9) เทากันทุกบรรทัด จนจบบรรณานุกรมแตละรายการ 5. ถาบรรณานุกรมนั้นมีผูแตงซ้ํากัน ใหขีดเสน 8 ชวงตัวอักษร ตามดวยจุด (.) ไมตอง ชื่อผูแตงอีก เชน . 6. ไมตองใสเลขลําดับรายการบรรณานุกรม 7. การเรียงลําดับรายการบรรณานุกรม 7.1 เรียงรายการบรรณานุกรมภาษาไทยกอนภาษาอังกฤษ 7.2 กรณีรายการบรรณานุกรมที่มีผูแตงคนแรกเหมือนกัน ยึดหลักดังนี้ 7.2.1 ผูแตงคนเดียวเรียงไวกอนผูแตงหลายคน 7.2.2 ผูแตงคนแรกเหมือนกัน ใหเรียงลําดับอักษรของผูแตงคนตอมา 7.2.3 ผูแตงซ้ํากันทั้งหมด ใหเรียงล้ําดับตามปที่พิมพจากปที่นอยไปหาปที่มาก กรณี ที่ไมปรากฏปที่พิมพ ใหใส ม.ป.ป. และเรียงไวอันดับหลัง 7.2.4 ถาปที่พิมพซ้ํากัน ใหเรียงตามลําดับตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง 7.3 สําหรับภาษาอังกฤษ หากมีคําที่ขึ้นตนเปน article ไมตองนํามาใชในการเรียง ให เรียงตามลําดับอักษรของคําถัดมา 8. การเวนระยะหลังเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี้ 8.1 หลังเครื่องหมายมหัพภาค (.) เวน 2 ระยะ // 8.2 หลังเครื่องหมายจุลภาค (,) เวน 1 ระยะ / 8.3 หลังเครื่องหมายอัฒภาค (;) เวน 1 ระยะ / 8.4 หลังเครื่องหมายมหัพภาคคู (:) เวน 1 ระยะ / หมายเหตุ 1. ชื่อหนังสือ ใหพิมพดวยอักษรตัวหนาหรือตัวเอียง สําหรับภาษาอังกฤษ  ตัวแรกใหพิมพดวยตัวพิมพใหญ ยกเวนคําบุพบท สันธาน  2. ครั้งที่พิมพ หากเปนพิมพครั้งแรกไมตองลงรายการที่พิมพ 3. เครื่องหมาย / หมายถึงการเวนวรรค 1 ตัวอักษร