ݺߣ
Submit Search
ระบบศรษฐกิจ
•
3 likes
•
5,600 views
P
Ponpirun Homsuwan
Follow
ระบบศรษฐกิจ
Read less
Read more
1 of 18
Download now
Downloaded 20 times
More Related Content
ระบบศรษฐกิจ
1.
1 สื่อการสอน เรื่อง ระบบศรษฐกิจ โดย ครูพัชราภรณ์
หมือȨุ่ง
2.
2 ร ร (Economics
System) หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจ ที่ประกอบด้วยหน่วย เศรษฐกิจหลายๆ หน่วยรวมกัน มีกฎเกณฑ์ ระเบียบแบบ แผนและแนวทางปฏิบัติเดียวกัน หน่วยเศรษฐกิจ (Economics Units) : คือผู้ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น การผลิต การบริโภค การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ประกอบด้วย
3.
3 1. ครัวเรือน (Household)
เป็นผู้บริโภค เป็นแหล่งปัจจัยการผลิต แสวงหาความพอใจสูงสุดจากการบริโภค 2. หน่วยธุรกิจ (Business or firm) เป็นผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้า แสวงหากาไรสูงสุด (Maximize Profit) 3. รัฐบาล (Government) เป็นทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิตและเกี่ยวข้องกับ หน่วยเศรษฐกิจอื่น เช่น เก็บภาษี คุ้มครองผู้บริโภค
4.
4 ปัจจัยการผลิต (Factor of
Production) : คือ ทรัพยากรที่นามาผลิตสินค้าและบริการ 1. ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ (Land & Resource) หมายถึง ทุกสิ่งที่ธรรมชาติสร้างขึ้น ทั้ง บนดิน ใต้ดิน ค่า ช่า 2. ทุน (Capital) หมายถึง เงินทุน (Money capital) และสินทรัพย์ประเภททุน (Capital goods) เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์ในการผลิต อาคารโรงงาน ดอ ี้ย ผลตอ แทน ผลตอ แทน
5.
5 3. แรงงาน (Labor)
หมายถึง บุคคลที่ใช้แรงกาย และสมอง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แรงงานฝีมือ ,กึ่งฝีมือ และ ไร้ฝีมือ ค่า ้าง 4. ผู้ปร อ าร (Enterpreneur) เป็นผู้รับความเสี่ยงในการทาธุรกิจ าไร ผลตอ แทน ผลตอ แทน
6.
วงจรเศรษฐกิจพื้นฐาน ผู้ผลต ผู้ รโภค ผลตอ
แทนปั ัย ารผลต (ค่า ช่า, ดอ ี้ย, ค้า ้าง , าไร) ปั ัย ารผลต (ที่ดน, ทุน, แรงงาน, ผู้ปร อ าร) สนค้าแล ร าร ค่าใช้ ่ายใน ารซื้อสนค้าแล ร าร
7.
ประเภทของระบบศรษฐกิจ 7 Economics System สรีนยม Free Enterprise Economics
System สังคมนยม Socialist Economics System ผสม Mixed Economics System
8.
หรือ ระบบศรษฐกิจแบบทุนนิยม
(Capitalism) เอกชนมีสิทธิเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต มีเสรีภาพในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐไม่เข้าไปแทรกแซงกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจดาเนินไปโดยผ่าน กลไกราคา (Price mechanism) หรือ ระบบตลาด 8 ระบบศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
9.
กลไกราคา (PRICE MECHANISM)
ผลิตอะไร ? ราคาสินค้าเป็นตัวจูงใจผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ? เลือกวิธีการผลิตที่ต้นทุนต่าสุด ผลิตเพื่อใคร ? รายได้ของบุคคลเป็นตัวกาหนด 9
10.
ข้อดี ให้เสรีภาพในแก่ผู้ผลิตและผู้บริโภคดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตาม ความสมัครใจ และให้สิทธิเอกชนในการสะสมทรัพย์สิน
กลไกราคาทาให้การตัดสินใจผลิตสินค้าสอดคล้องกับความต้องการ ของสังคม การแข่งขันโดยเสรีช่วยป้องกันมิให้ผู้ผลิตหากาไรเกินควร การแข่งขันทาให้เกิดการปรับปรุงวิธีการผลิตอยู่เสมอ ทาให้มี การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 10
11.
ข้อเสีย กิจกรรมบางอย่างใช้กลไกราคาเป็นเครื่องมือแก้ปัญหาพื้นฐาน ทาง เศรษฐกิจไม่ได้
เช่น สินค้าสาธารณะ นายทุน หรือผู้มีอิทธิพลทางการเมืองสามารถเอาเปรียบผู้บริโภคและแรงงาน ทาให้การกระจายรายได้และการจัดสรรทรัพยากร ไม่ทั่วถึง การแข่งขันทาให้รายย่อยไม่สามารถอยู่ในตลาดได้ เกิดการผูกขาดจากผู้ผลิต รายใหญ่มีทุนมากและอานาจต่อรองสูง ทาให้ราคาสินค้าสูงขึ้น รายได้ แรงงานลดลง สวัสดิการสังคมโดยรวมลดลง 11
12.
ระบบศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หรือระบบศรษฐกิจที่มีการวางแผนจากส่วนกลาง (Central Planned
Economy) ทรัพยากรของประเทศเป็นของรัฐ รัฐเป็นผู้วางแผนในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อตอบปัญหาพื้น ฐานเศรษฐกิจ ไม่ใช้กลไกราคา ราคาถูกกาหนดตามนโยบายของรัฐ ไม่เกิดการแข่งขันเสรีเนื่องจากราคาไม่ใช่สิ่งจูงใจ 12
13.
ข้อดี ถ้ารัฐดาเนินการได้มีประสิทธิภาพ จะทาให้มีการผลิตสินค้าและบริการเป็น ประโยชน์แก่คนส่วนรวมมากที่สุด ทาให้การจัดสรรทรัพยากรและการ กระจายรายได้เป็นธรรม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างช้า
ๆ และมี เสถียรภาพ การผูกขาดโดยผู้ผลิตแต่ละรายไม่เกิดขึ้น และไม่มีการแข่งขันเพื่อแสวงหา กาไรสูงสุด ทุกคนเสมอภาคเท่าเทียมกัน 13
14.
ข้อเสีย ขาดแรงจูงใจให้ผลิตเต็มความสามารถ เพราะเอกชนไม่มีสิทธิเป็นเจ้าของ ทรัพย์สิน
ไม่เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เพราะขาดการแข่งขัน ผู้บริโภคไม่มีเสรีภาพในการเลือกซื้อสินค้า เนื่องจากอยู่ภายใต้ขอบเขตที่รัฐ ผลิต อาจก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ หากผลิตสินค้าที่สังคมไม่ ต้องการ ไม่ก่อให้เกิดความพอใจสูงสุดแก่สังคม 14
15.
ระบบศรษฐกิจแบบผสม เอกชนมีสิทธิในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสมัครใจ รัฐเข้าไปควบคุมกิจกรรมพื้นฐานที่สาคัญ
ที่เอกชนไม่ลงทุนเพราะต้อง ลงทุนมากและกาไรน้อย เช่น ประปา ไฟฟ้ า และผลิตสินค้าสาธารณะ รัฐดูแลควบคุมให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นไปโดยราบรื่น 15
16.
ข้อดี ผู้บริโภคมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าและบริการได้ตามความพอใจ ธุรกิจมีเสรีภาพในการผลิต และกลไกราคาทางานได้ ทาให้เกิดการพัฒนา ลดบทบาททุนนิยม
โดยรัฐเข้าไปแทรกแซงกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ ประชาชนโดยส่วนรวม และออกกฎหมายคุ้มครองการเอารัดเอาเปรียบใน สังคม 16
17.
ข้อเสีย การกาหนดนโยบายเศรษฐกิจและอานาจต่างๆ ขึ้นอยู่กับรัฐบาล ทาให้ธุรกิจขาดความมั่นในการลงทุน
เนื่องจากมีความเสี่ยงจาก ความไม่แน่นอนของนโยบาย 17
18.
18 คาถาม 1.ปัจจัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร์มีอะไรบ้าง จงบอกผลตอบแทนกับการเป็น เจ้าของปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด 2.จงอธิบายคาว่า “
ระบบศรษฐกิจ” และความสาคัญของระบบศรษฐกิจ อย่างละเอียด 3.ลักษณะสาคัญของระบบศรษฐกิจแต่ละระบบและข้อดี ข้อเสีย 4.ในแต่ละระบบศรษฐกิจประกอบด้วยหน่วยเศรษฐกิจอะไรบ้าง แต่ละหน่วยเศรษฐกิจมีหน้าที่อะไร 5.จงแสดงความเห็นว่าทาไมระบบศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์จึงล่มสลาย 6.เหตุใดรัฐจึงต้องเข้ามามีบทบาทและควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ระบบศรษฐกิจแบบผสม 7.ประเทศไทยมีระบบศรษฐกิจแบบใด เหมาะสมหรือไม่ อธิบาย 8.จากความรู้เรื่องระบบศรษฐกิจ ท่านคิดว่าระบบใดดีที่สุด 9.จงบอกจุดมุ่งหมายในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของแต่ละหน่วยเศรษฐกิจ 10.อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์มหภาคและเศรษฐศาสตร์จุลภาค
Download