การปฐมพยาบาล
- 4. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยกะทันหัน
1.การเป็นลมธรรมดา
1. เมื่อมีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด ตาพร่าลาย ให้รีบนั่ง อาจนั่งในท่า
โน้มศีรษะลงมาอยู่ระหว่างเข่า และพยายามสูดหายใจเข้าลึก ๆ
2. กรณีพบผู้ที่เป็นลมหมดสติประเภทนี้ ให้ช่วยเหลือ โดยจัดท่าให้ผู้เป็น
ลมนอนหงายราบ ให้ศีรษะต่าอาจหาวัสดุรอง ยกปลายเท้าให้สูงประมาณ
1 ฟุต ให้หันหน้าตะแคงไปข้างใดข้างหนึ่ง คลายเสื้อผ้าให้หลวม อย่าให้
คนมุงดู เพราะต้องการให้อากาศถ่ายเทได้ดี ให้ดมแอมโมเนีย หรือยาดม
ใช้ผ้าชุบน้า เช็ดหน้าให้ ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรนาส่งโรงพยาบาล
- 5. 2.การเป็นลมแดด
1. เมื่อมีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด ตาพร่าลายให้รีบนั่งลงและพยายาม
สูดหายใจเข้าลึก ๆ
2. กรณีพบผู้เป็นลมหมดสติประเภทนี้ ให้ช่วยเหลือโดยนาผู้เป็นลมเข้า
ในที่ร่มหรือในที่มีอากาศเย็น จัดท่าให้ ผู้เป็นลมนอนหงายราบ
คลายเสื้อผ้าให้หลวมอย่าให้คนมุงดู เพราะต้องการให้อากาศถ่ายเทได้
ดี ใช้ผ้าชุบน้าธรรมดาหรือ น้าเย็น หรือน้าแข็งเช็ดหน้า ตัว แขนและ
ชา ให้เพื่อคลายความร้อนในร่างกายลง ถ้าผู้เป็นลมฟื้ นคืนสติให้ดื่มน้า
ผสมเกลือเล็กน้อย (ผสมน้า 1 แก้ว กับเกลือครึ่งช้อนกาแฟ) จิบที่ละ
น้อย บ่อย ๆ ครั้ง ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรนาส่งโรงพยาบาล
- 6. 3.การเป็นลมชัก
1. มีสติก่อนพยาบาล
คนปฐมพยาบาลต้องตั้งสติให้ดี อย่ากลัวจนเกินเหตุ อย่าลืมว่าคนป่วยเขากาลังรอ
ความช่วยเหลือจากคุณอยู่ ถ้าคุณเองยังเอาตัวไม่รอดแล้วจะไปช่วยเขาได้หรือ
2. ที่โล่งไม่มีสิ่งกีดขวาง
เพราะเวลาที่คนป่วยชัก แขนขาอาจจะไปกวาดโดนสิ่งของให้ล้มลงมาทับ หรืออาจ
ดิ้นไปชนของแข็งๆ อย่างพวกโต๊ะ ตู้ เตียง คนพยาบาลจึงต้องรีบหามคนป่วยออกมา
นอนในที่โล่งที่ไม่มีอะไรเกะกะ เพื่อป้องกันอันตรายล่วงหน้า
3. จับนอนตะแคง
ท่านี้ เป็นท่าที่จะป้องกันไม่ให้ของที่อยู่ในช่องปาก ไม่ว่าจะเป็นเสมหะ อาหาร ลิ้น
หรือน้าลายเข้าไปอุดตันหลอดลม จึงควรจะจับคนป่วยนอนตะแคงให้ศีรษะต่า
เล็กน้อย หรือถ้าไม่สะดวกเพราะคนป่วยกาลังดิ้นก็อาจจะให้นอนหงาย แต่ให้หัน
ศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่งแทนก็ได้
- 8. วิธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
1. การเคลื่อนย้ายโดยผู้ช่วยเหลือคนเดียว
วิธีที่ 1 พยุงเดิน เหมาะสาหรับผู้ป่วยที่รู้สึกตัวดี แต่แขนหรือขาข้างใดข้าง
หนึ่งเจ็บ (เฉพาะส่วนล่าง)
วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือยืนเคียงข้างผู้ป่วย หันหน้าไปทางเดียวกัน แขน
ข้างหนึ่งของผู้ป่วยพาดคอ ผู้ช่วยเหลือจับมือผู้ป่วยไว้ ส่วนแขนอีกข้างหนึ่งของผู้
ช่วยเหลือโอบเอวและพยุงเดิน
- 9. วิธีที่ 2 การอุ้ม วิธีนี้ ใช้กับผู้บาดเจ็บที่มีน้าหนักตัวน้อย หรือในเด็กซึ่งไม่มีบาดแผลรุนแรง หรือ
กระดูกหักโดยการช้อนใต้เข่าและประคองด้านหลัง หรืออุ้มทาบหลังก็ได้
- 10. วิธีที่ 3 วิธีลาก เหมาะที่จะใช้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น เกิดไฟไหม้ ถังแก็สระเบิด หรือตึกถล่ม
จาเป็นต้องเคลื่อนย้ายออกจากที่เกิดเหตุให้เร็วที่สุด อาจปฏิบัติได้หลายวิธี
ผู้ช่วยเหลืออาจะจะลากโดยใช้มือสอดใต้รักแร้ลากถอยหลัง หรือจับข้อเท้าลากถอยหลังก็
ได้ ไม่ควรลากไปด้านข้างของผู้บาดเจ็บ ต้องระวังไม่ให้ส่วนของร่างกายโค้งงอ โดยเฉพาะ
ส่วนของคอและลาตัว การลากจะลดอันตรายลงถ้าใช้ผ้าห่มหรือเสื่อ หรือ แผ่นกระดานรอง
ลาตัวผู้บาดเจ็บ
- 12. วิธีที่ 2 นั่งบนมือทั้งสี่ที่จับประสานกันเป็นแคร่ เหมาะสาหรับผู้ป่วยในรายที่ขา
เจ็บแต่รู้สึกดีและสามารถใช้แขนทั้งสองข้างได้
วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือทั้งสองคนใช้มือขวากาข้อมือซ้ายของตนเอง
ขณะเดียวกันก็ใช้มือซ้ายกามือขวาซึ่งกันและกัน ให้ผู้ป่วยใช้แขนทั้งสองยันตัวขึ้น
นั่งบนมือทั้งสี่ที่จับประสานกันเป็นแคร่ แขนทั้งสองของผู้ป่วยโอบคอผู้ช่วยเหลือ
จากนั้นวางผู้ป่วยบนเข่าเป็นจังหวะที่หนึ่ง และอุ้มยืนเป็นจังหวะที่สอง แล้วจึงเดิน
ไปพร้อมๆ กัน
- 13. วิธีที่ 3 การพยุงเดิน วิธีนี้ ใช้ในรายที่ไม่มีบาดแผลรุนแรง หรือกระดูกหักและผู้บาดเจ็บยัง
รู้สึกตัวดี
- 14. 3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยผู้ช่วยเหลือสามคน
วิธีที่ 1 อุ้มสามคนเรียง เหมาะสาหรับผู้ป่วยในรายที่ไม่รู้สึกตัว ต้องการอุ้มขึ้นวางบน
เตียงหรืออุ้มผ่านทางแคบๆ
วิธีเคลื่อนย้าย ผู้ช่วยเหลือทั้งสามคนคุกเข่าเรียงกันในท่าคุกเข่าข้างเดียว ทุกคนสอดมือ
เข้าใต้ตัวผู้ป่วย และอุ้มพยุงไว้ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายดังนี้
คนที่ 1 สอดมือทั้งสองเข้าใต้ตัวผู้ป่วยตรงบริเวณคอและหลังส่วนบน
คนที่ 2 สอดมือทั้งสองเข้าใต้ตัวผู้ป่วยตรงบริเวณหลังส่วนล่างและก้น
คนที่ 3 สอดมือทั้งสองเข้าใต้ขา
ผู้ช่วยเหลือคนที่อ่อนแอที่สุดควรเป็นคนที่ 3 เพราะรับน้าหนักน้อยที่สุด เมื่อจะยก
ผู้ป่วยผู้ช่วยเหลือทั้งสามคน จะต้องทางานพร้อมๆ กัน โดยให้คนใดคนหนึ่งเป็นออกคาสั่ง
ขั้นแรก ยกผู้ป่วยพร้อมกันและวางบนเข่า จากท่านี้ เหมาะสาหรับจะยกผู้ป่วยขึ้นวางบนเปล
ฉุกเฉินหรือบนเตียง แต่ถ้าจะอุ้มเคลื่อนที่ผู้ช่วยเหลือทั้งสามคน จะต้องประคองตัวผู้ป่วยใน
ท่านอนตะแคง และอุ้มยืน เมื่อจะเดินจะก้าวเดินไปทางด้านข้างพร้อมๆ กัน และถ้าจะวาง
ผู้ป่วยให้ทาเหมือนเดิมทุกประการ คือ คุกเข่าลงก่อนและค่อย ๆ วางผู้ป่วยลง
- 15. วิธีที่ 2 การใช้คน 3 คน วิธีนี้ ใช้ในรายที่ผู้บาดเจ็บนอนหงาย หรือ นอนคว่าก็ได้ ให้คางของ
ผู้บาดเจ็บยกสูงเพื่อเปิดทางเดินหายใจ
1. ผู้ปฐมพยาบาล 2 คนคุกเข่าข้างลาตัวผู้บาดเจ็บข้างหนึ่ง อีกข้างหนึ่งผู้ปฐมพยาบาล
อีก 1 คน คุกเข่าข้างลาตัวผู้บาดเจ็บ
2. ผู้ปฐมพยาบาลคนที่ 1 ประคองที่ศีรษะและไหล่ผู้บาดเจ็บ มืออีกข้างหนึ่งรองส่วนหลัง
ผู้บาดเจ็บ
3. ผู้ปฐมพยาบาลคนที่ 2 อยู่ตรงข้ามคนที่ 1 ใช้แขนข้างหนึ่งรองหลังผู้บาดเจ็บ เอามือ
ไปจับมือคนที่ 1 อีกมือหนึ่งรองใต้สะโพกผู้บาดเจ็บ
4. ผู้ปฐมพยาบาลคนที่ 3 มือหนึ่งอยู่ใต้ต้นขาเหนือมือคนที่ 2 ที่รองใต้สะโพก แล้วเอา
มือไปจับกับมือคนที่ 2 ที่รองใต้สะโพกนั้น ส่วนมืออีกข้างหนึ่งรองที่ขาใต้เข่า
5. มือคนที่ 1 และคนที่ 2 ควรจับกันอยู่ระหว่างกึ่งกลางลาตัวส่วนบนของผู้บาดเจ็บ ผู้
ปฐมพยาบาลจะต้องให้สัญญาณลุกขึ้นยืนพร้อม ๆ กัน