ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน
ชีวนิเวศ(Biome)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นางสาวอนัญญา ขัติยะปัญญา เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 4
2 นางสาวธัญรดา งามช่วง เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวอนัญญา ขัติยะปัญญา เลขที่ 8 ชั้น ม.6/4
2.นางสาวธัญรดา งามช่วง เลขที่ 30 ชั้น ม.6/4
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ชีวนิเวศ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Biome
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นางสาวอนัญญา ขัติยะปัญญา เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 4
2 นางสาวธัญรดา งามช่วง เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
มนุษย์มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างแนบแน่น ในอดีตที่ผ่านมานั้นเรื่องความสมดุลของธรรมชาติตาม
ระบบนิเวศยังไม่เกิดขึ้นมากนัก ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพื้นที่ป่าไม้และยังคงปก
คลุมทั่ว สัตว์ป่ามีอยู่อย่างชุกชุม ภูมิอากาศดี มีความสมดุลในระบบนิเวศความเปลี่ยนแปลงทางด้านธรรมชาติและ
สภาวะแวดล้อมเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปอยู่ในวิสัยที่ธรรมชาติสามารถปรับดุลของตัวเองได้แต่ในปัจจุบันนี้มี
การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย สิ้นเปลืองไม่คุ้มค่า ส่งผลให้เกิดความสูญเสียต่อระบบนิเวศ อาทิเช่น ภาวะโลกร้อน
ปรากฏการณ์เรือนกระจก เกิดผลเสียตามมามากมายและจะส่งผลต่อมนุษย์ในที่สุด จึงเป็นที่ตระหนักแล้วว่าการ
3
แก้ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมเป็นวาระเร่งด่วนของประเทศ เราจึงควรศึกษาชีวนิเวศเพื่อให้เล็งเห็นถึง
ความสาคัญในธรรมชาติอีกทั้งยังปลูกฝังจิตสานึกที่ดีในการอนุรักษ์และถ่ายทอดความรู้ต่อไป
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาความรู้เกี่ยวกับชีวนิเวศ
2.เพื่อศึกษาประโยชน์และวิธีการอนุรักษ์ชีวนิเวศ
3.เพื่อเป็นประโยชน์กับบุคคลที่สนใจทั่วไป
หลักการและทฤษฎี
ไบโอม (biomes) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ
ความชื้น และ ปัจจัยทางชีวภาพ ที่คล้ายคลึงกัน แยกได้2 ประเภท คือ ไบโอมบนบก (Terrestrial biomes) ใช้เกณฑ์
ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด ไบโอมบนบกที่สาคัญ ได้แก่ ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขต
อบอุ่น ใบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา ไบโอมป่าสน ไบโอมทะเลทราย ไบโอมทุนดรา เช่น
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) พบได้ในบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ลักษณะของ
ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 200 – 400 เซนติเมตรต่อปี ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
(Temperate deciduous forest) พบกระจายทั่วไปในละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ในป่าชนิดนี้และต้นไม้จะทิ้ง
ใบหรือผลัดใบก่อนฤดูหนาว และจะเริ่มผลิใบอีกครั้งเมื่อฤดูหนาวผ่านพ้นไปแล้ว ป่าสน (Coniferous forest) ทุ่ง
หญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland) ในตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือและทุ่งหญ้า สเตปส์ (Steppes) ของ
ประเทศรัสเซีย สภาพภูมิอากาศมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 25 – 50 เซนติเมตรต่อปี ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการ
ทากสิกรและปศุสัตว์เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรม
ควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย สะวันนา (Savanna) เป็นทุ่งหญ้าที่พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้
ของทวีปเอเชีย ลักษณะของภูมิอากาศร้อนมักเกิดไฟป่า ทะเลทราย (Desert) พบได้ทั่วไปในโลก ในพื้นที่มีปริมาณ
ฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส
ตลอด ทุนดรา (Tundra) เป็นเขตที่มีฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ ลักษณะเด่นคือ ชั้นของดินที่อยู่ต่า
กว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้าแข็งถาวร อีกหนึ่งประเภทคือ ไบโอมในน้า
พบเป็นองค์ประกอบหลักใบไบโอสเฟียร์ประกอบด้วย ไบโอมแหล่งน้าจืด (Freshwater biomes) และไบโอมแหล่ง
น้าเค็ม (Marine Biomes) และพบกระจายอยู่ทั้งเขตภูมิศาสตร์ในโลกนี้ ไบโอมแหล่งน้าจืด (Freshwater biomes)
โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้านิ่งซึ่งได้แก่ ทะเลสาบ สระ หนอง หรือบึง กับแหล่งน้าไหล ได้แก่ ธารน้าไหลและ
แม่น้า เป็นต้น ไบโอมแหล่งน้าเค็ม (Marine biomes) โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้าเค็ม ซึ่งได้แก่ ทะเลและ
มหาสมุทร ซึ่งพบได้ในปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก และมีความลึกมากโดยเฉลี่ยถึง 3,750 เมตร ไบ
โอมแหล่งน้าเค็มจะแตกต่างจากน้าจืดตรงที่มีน้าขึ้นน้าลงเป็นปัจจัยกายภาพสาคัญ
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดขอบเขตเรื่อง
2.ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเว็บไซต์
3.นาข้อมูลที่ได้มาจากเว็บไซต์ต่างๆมาวิเคราะห์และเรียบเรียง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
300 บาทโดยประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อให้คนในสังคมได้เรียนรู้ชีวนิเวศต่างๆ
2.ทาให้คนในสังคมเล็งเห็นถึงความสาคัญของชีวนิเวศ
3.ทาให้ผู้ที่สนใจในเรื่องชีวนิเวศได้มีแหล่งศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
5
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
http://www.trueplookpanya.com
https://th.wikipedia.org/wiki
http://arts.kmutt.ac.th

More Related Content

ไบโอมคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน ชีวนิเวศ(Biome) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นางสาวอนัญญา ขัติยะปัญญา เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2 นางสาวธัญรดา งามช่วง เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวอนัญญา ขัติยะปัญญา เลขที่ 8 ชั้น ม.6/4 2.นางสาวธัญรดา งามช่วง เลขที่ 30 ชั้น ม.6/4 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ชีวนิเวศ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Biome ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นางสาวอนัญญา ขัติยะปัญญา เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 4 2 นางสาวธัญรดา งามช่วง เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน มนุษย์มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างแนบแน่น ในอดีตที่ผ่านมานั้นเรื่องความสมดุลของธรรมชาติตาม ระบบนิเวศยังไม่เกิดขึ้นมากนัก ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพื้นที่ป่าไม้และยังคงปก คลุมทั่ว สัตว์ป่ามีอยู่อย่างชุกชุม ภูมิอากาศดี มีความสมดุลในระบบนิเวศความเปลี่ยนแปลงทางด้านธรรมชาติและ สภาวะแวดล้อมเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปอยู่ในวิสัยที่ธรรมชาติสามารถปรับดุลของตัวเองได้แต่ในปัจจุบันนี้มี การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย สิ้นเปลืองไม่คุ้มค่า ส่งผลให้เกิดความสูญเสียต่อระบบนิเวศ อาทิเช่น ภาวะโลกร้อน ปรากฏการณ์เรือนกระจก เกิดผลเสียตามมามากมายและจะส่งผลต่อมนุษย์ในที่สุด จึงเป็นที่ตระหนักแล้วว่าการ
  • 3. 3 แก้ปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมเป็นวาระเร่งด่วนของประเทศ เราจึงควรศึกษาชีวนิเวศเพื่อให้เล็งเห็นถึง ความสาคัญในธรรมชาติอีกทั้งยังปลูกฝังจิตสานึกที่ดีในการอนุรักษ์และถ่ายทอดความรู้ต่อไป วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาความรู้เกี่ยวกับชีวนิเวศ 2.เพื่อศึกษาประโยชน์และวิธีการอนุรักษ์ชีวนิเวศ 3.เพื่อเป็นประโยชน์กับบุคคลที่สนใจทั่วไป หลักการและทฤษฎี ไบโอม (biomes) หรือชีวนิเวศ หมายถึง ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น และ ปัจจัยทางชีวภาพ ที่คล้ายคลึงกัน แยกได้2 ประเภท คือ ไบโอมบนบก (Terrestrial biomes) ใช้เกณฑ์ ปริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด ไบโอมบนบกที่สาคัญ ได้แก่ ไบโอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขต อบอุ่น ใบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา ไบโอมป่าสน ไบโอมทะเลทราย ไบโอมทุนดรา เช่น ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) พบได้ในบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ลักษณะของ ภูมิอากาศร้อนและชื้น มีฝนตกตลอดปี ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 200 – 400 เซนติเมตรต่อปี ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate deciduous forest) พบกระจายทั่วไปในละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ในป่าชนิดนี้และต้นไม้จะทิ้ง ใบหรือผลัดใบก่อนฤดูหนาว และจะเริ่มผลิใบอีกครั้งเมื่อฤดูหนาวผ่านพ้นไปแล้ว ป่าสน (Coniferous forest) ทุ่ง หญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland) ในตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือและทุ่งหญ้า สเตปส์ (Steppes) ของ ประเทศรัสเซีย สภาพภูมิอากาศมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 25 – 50 เซนติเมตรต่อปี ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสาหรับการ ทากสิกรและปศุสัตว์เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่ ส่วนใหญ่พบมีการทาเกษตรกรรม ควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย สะวันนา (Savanna) เป็นทุ่งหญ้าที่พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ ของทวีปเอเชีย ลักษณะของภูมิอากาศร้อนมักเกิดไฟป่า ทะเลทราย (Desert) พบได้ทั่วไปในโลก ในพื้นที่มีปริมาณ ฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียส ตลอด ทุนดรา (Tundra) เป็นเขตที่มีฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ ลักษณะเด่นคือ ชั้นของดินที่อยู่ต่า กว่าจากผิวดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้าแข็งถาวร อีกหนึ่งประเภทคือ ไบโอมในน้า พบเป็นองค์ประกอบหลักใบไบโอสเฟียร์ประกอบด้วย ไบโอมแหล่งน้าจืด (Freshwater biomes) และไบโอมแหล่ง น้าเค็ม (Marine Biomes) และพบกระจายอยู่ทั้งเขตภูมิศาสตร์ในโลกนี้ ไบโอมแหล่งน้าจืด (Freshwater biomes) โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้านิ่งซึ่งได้แก่ ทะเลสาบ สระ หนอง หรือบึง กับแหล่งน้าไหล ได้แก่ ธารน้าไหลและ แม่น้า เป็นต้น ไบโอมแหล่งน้าเค็ม (Marine biomes) โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้าเค็ม ซึ่งได้แก่ ทะเลและ มหาสมุทร ซึ่งพบได้ในปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก และมีความลึกมากโดยเฉลี่ยถึง 3,750 เมตร ไบ โอมแหล่งน้าเค็มจะแตกต่างจากน้าจืดตรงที่มีน้าขึ้นน้าลงเป็นปัจจัยกายภาพสาคัญ
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดขอบเขตเรื่อง 2.ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเว็บไซต์ 3.นาข้อมูลที่ได้มาจากเว็บไซต์ต่างๆมาวิเคราะห์และเรียบเรียง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ งบประมาณ 300 บาทโดยประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.เพื่อให้คนในสังคมได้เรียนรู้ชีวนิเวศต่างๆ 2.ทาให้คนในสังคมเล็งเห็นถึงความสาคัญของชีวนิเวศ 3.ทาให้ผู้ที่สนใจในเรื่องชีวนิเวศได้มีแหล่งศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มมากขึ้น