ݺߣ
Submit Search
แรงจูงใจของผู้รียนภาษาไทยใȨานะภาษาต่างประทศ
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
425 views
K
Kanthika Sriman
Follow
แรงจูงใจของผู้รียนภาษาไทยใȨานะภาษาต่างประทศ
Read less
Read more
1 of 22
Download now
Download to read offline
More Related Content
แรงจูงใจของผู้รียนภาษาไทยใȨานะภาษาต่างประทศ
1.
แรงจูงใจของผู้เรียน ภาษาไทยในฐานะ ภาษาต่างประเทศ
2.
นางสาววรรณนิสา ขุนโยธา รหัสนักศึกษา
๕๖๘๑๑๒๔๐๑๔ นางสาวอาทิตยา เปรมปรีดิ์ รหัสนักศึกษา ๕๖๘๑๑๒๔๐๑๕ นางสาวจันทิมา รอดใส รหัสนักศึกษา ๕๖๘๑๑๒๔๐๑๖ นางสาวกัณฐิกา ศรีมั่น รหัสนักศึกษา ๕๖๘๑๑๒๔๐๒๙ นางสาวนงนุช รวบยอด รหัสนักศึกษา ๕๖๘๑๑๒๔๐๓๓ นางสาวกฤติญา พินธุรักษ์ รหัสนักศึกษา ๕๖๘๑๑๒๔๐๔๑ รายชื่อสมาชิก
3.
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะ ภาษาต่างประเทศ ในยุค 2000 ยุคสหัสวรรษใหม่
ยุคข้อมูลข่าวสาร ยุคโลกาภิวัตน์ ภาษาไทยถูกจัดอยู่ในสาระบบของโลก ความนิยมและความต้องการเรียน ภาษาไทยเริ่มขึ้นจากจุดเล็กๆ ในประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุ่น อเมริกา ออสเตรเลีย ด้วยเหตุผลที่มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนนั้นมีนโยบายในการผลิต บุคลากรที่จะต้องเกี่ยวข้องกับประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเป็นรายวิชาเลือก หรือวิชาเลือกบังคับในหมวดหนึ่งของกลุ่มวิชาในหลักสูตรใหม่ๆ เช่น หลักสูตรความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
4.
ในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ทั่วโลกได้เปิดสอนหลักสูตร ภาษาไทยและไทยศึกษามากขึ้นเรื่อยๆ เช่น
หลักสูตรเอเชียศึกษาหรือ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มีประมาณ 114สถาบันในทวีปเอเชีย ยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย ซึ่งนับว่ามีการเติบโตมากพอสมควร ทั้งนี้น่าจะมา จากประเทศไทยเป็นประเทศที่น่าสนใจ เช่น มีทิวทัศน์สวยงามหลากหลาย ลักษณะรวมไปถึงความเลื่องลือของอาหารไทยและน้าใสใจจริงของคนไทย
5.
การสอนภาษาไทยในต่างประเทศ จากเอกสารที่เสนอ ณ ที่ประชุมสัมมนาระดับภูมิภาคว่า ด้วยการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยในบริบทไทยศึกษา
มี การกล่าวไว้ดังนี้
6.
ในจีนมหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศ กวางโจว -ค.ศ. 1970มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศกวางโจว เริ่มเปิดสอน ภาษาไทย -ทศวรรษที่
50 คนจีนที่กลับมาจากประเทศไทยมาเป็นอาจารย์ สอนภาษาไทยตามมหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศจีน -ปัจจุบันมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนภาษาไทยซึ่งเป็นวิชาเอกหลักสูตร 4 ปี ได้แก่ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง , มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศปักกิ่ง, มหาวิทยาลัยภาษาและการค้าต่างประเทศกวางโจว และสถาบันชนชาติ ส่วนน้อยยูนนาน
7.
ในจีนมหาวิทยาลัยปักกิ่ง ไทยและจีนมีการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมากขึ้น หลังจากปฏิรูปเศรษฐกิจและเปิดประตูประเทศ -ในทศวรรษที่ 90 สถาบันชนชาติส่วนน้อยยูนนานเปิดสอนวิชา ภาษาไทย -ค.ศ.
1996 มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ก่อตั้งสถาบันไทยศึกษา มหาวิทยาลัยปักกิ่งขึ้น -ค.ศ. 1999มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ภาควิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย เปิดรับนักศึกษาปริญญาโท (เป็นการเริ่มต้นฝึกอบรมผลิตนักศึกษา ปริญญาโท สาขาวิชาภาษาไทย ในประเทศจีน)
8.
-ค.ศ. 2000 สถาบันภาษาต่างประเทศเซี่ยงไฮ้
จัดตั้งสาขาวิชา ภาษาไทย -ค.ศ. 2001 กระทรวงศึกษาธิการจีน ตั้งศูนย์อบรมผลิตบุคลากร ภาษาต่างประเทศที่ใช้กันน้อยขึ้น ในมหาวิทยาลัยปักกิ่ง -ปัจจุบันมหาวิทยาลัยในจีนที่มีสาขาวิชาภาษาไทย มี 8 แห่ง
9.
ในเกาหลี มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก -ค.ศ. 1996
มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก จัดตั้งภาควิชาเอกภาษาไทยรุ่น แรก 20 คน -ในช่วงแรกมีศาสตราจารย์ชาง ซอง แช เป็นอาจารย์ผู้สอน หัวหน้าภาค คนวางหลักสูตร สร้างตารา และบริหาร -มีการค้นคว้าเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม -มีการติดต่อแลกเปลี่ยนวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาในไทย โดยเฉพาะจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -ปัจจุบันมีอาจารย์ทั้งชาวเกาหลีและชาวไทยหลายหลายท่านมา ปฏิบัติการสอน
10.
ในมาเลเซีย มหาวิทยาลัยมลายา -วิชาภาษาไทยมีสอนที่มหาวิทยาลัยมลายานานกว่า 20
ปี -วิชาภาษาไทยเป็นวิชาเลือกที่บังคับวิชาหนึ่งของภาษาต่างๆ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ของคณะอักษรศาสตร์ -วิชาภาษาไทยจะเป็นภาษาเลือก สาหรับคณะภาษาศาสตร์และอื่นๆ -หลักสูตรการเรียน จะเน้นทุกทักษะ ทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน -ใช้บทเรียนและการสัมมนาในการเผยแพร่วัฒนธรรมไทย ความเชื่อ และประเพณี -นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นคนในท้องถิ่นที่ไม่มีพื้นฐานภาษาไทยมาก่อน หรือคนที่เกิดในหมู่บ้านคนไทย ในประเทศมาเลเซียทางภาคเหนือ ซึ่งกลุ่มนี้จะ พูดได้หรืออ่านได้ แต่อาจเพี้ยนและสะกดไม่ถูกต้อง
11.
ในออสเตรเลีย -การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยอย่างเป็นระบบในออสเตรเลียเริ่ม ขึ้นที่สถาบันสอนภาษาพอยต์คุก (Point Cook)ในรัฐวิคตอเรีย -มีวัตถุประสงค์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางการทหารเป็นสาคัญ -กาหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมบุคลากรของกระทรวงฯ
ให้มีความรู้ความ เชี่ยวชาญในด้านการใช้ภาษาไทยอย่างชัดเจนและถูกต้อง -พ.ศ. 2518 มีการสอนภาษาไทยระดับปริญญาขึ้นเป็นครั้งแรกที่คณะ เอเชียศึกษามหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย -พ.ศ. 2521 – 2532 มหาวิทยาลัยฯ มีงบประมาณเพื่อว่าจ้างอาจารย์ ประจาจานวน 2 คุน เพื่อทาหน้าที่สอนภาษาไทย ในช่วงนี้มีนักศึกษาที่จบ การศึกษาภาษาไทยในระดับสูงประมาณ 50 คน
12.
ความคิดเห็นของนักศึกษาเกาหลีต่อ การสอนภาษาไทยให้นักศึกษาเกาหลี ศึกษาโดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยปูซาน ประเทศเกาหลี เอกภาษาไทย
ชั้นปีที่2 และ3 จานวน 20 คน ที่ได้มาเรียนภาษาไทยแบบเข้ม ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นเวลา 2เดือน
13.
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาเหตุผลในการเลือกเรียนภาษาไทย 2.เพื่อทราบความคิดเห็นของนักศึกษาชาวเกาหลีในฐานะผู้เรียน ภาษาไทย เหตุผลที่เลือกเรียนภาษาไทย 1.เพื่อจะได้รู้จักประเทศไทยความเป็นอยู่ของคนไทย เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมไทย 2.ต้องการมาทางานกับบริษัทเกาหลีในประเทศไทย 3.ต้องการพูดภาษาไทยและการศึกษาต่อในประเทศไทย 4.ต้องการท่องเที่ยวในประเทศไทย
14.
ความสนใจไทยศึกษา 1.สนใจเรียนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย 2.สนใจเรียนสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง 3.สนใจวรรณคดีไทย ประวัติศาสตร์ ศาสนาพุทธ
15.
ทัศนคติต่อภาษาไทยและหลักสูตรภาษาไทยที่ เคยเรียนมา 1.อาจารย์สอนภาษาไทยขั้นเริ่มควรเป็นคนเกาหลี 2.อาจารย์สอนภาษาไทยชั้นกลางและขั้นสูงควรเป็นคนไทย 3.ผู้สอนต้องสอนให้ง่ายและสนุก มีวิธีสอนที่หลากหลาย 4.ด้านเนื้อหา ผู้สอนควรสอดแทรกให้เข้าใจ
สังคม การเมือง วรรณคดี 5.มีการสอนโดยการฝึกทักษะ มีโอกาสสนทนากับคนไทย 6.ผู้เรียนควรสนใจและพยายามฝึกฝนการแต่งประโยคและการพูด 7.ผู้เรียนควรมีวิธีฝึกฝนเรียนรู้นอกชั้นเรียน
16.
สิ่งที่ยากในการเรียนภาษาไทย 1.เรื่องการออกเสียง โดยเฉพาะเสียงวรรณยุกต์และเสียงควบกล้า 2.การเรียงคาในการแต่งประโยคภาษาไทย 3.การฟังคนไทยพูด จะเข้าใจได้ยาก
เพราะไม่ค่อยมีโอกาสได้ฝึก ฟัง
17.
ประโยชน์ของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ในการจัดทาโปรแกรมการสอน ภาษาไทย การจัดทาแบบฝึกทักษะ และการเรียบเรียงบทอ่านเสริมทักษะ ภาษาไทยของศูนย์ไทยศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ป็Ȩย่างมาก
18.
ความคิดเห็นของชาวต่างประเทศ ต่อกรณี การ สอนภาษาไทยเป็
นภาษาที่สอง 1.ภาษาไทยง่ายกว่าภาษาอังกฤษ 2.ครูภาษาไทยระดับต้นควรรู้ภาษาแม่ของผู้เรียน 3.อาจารย์สอนภาษาไทยชั้นกลางและชั้นสูงควรเป็นคนไทย 4.ความพึงพอใจของผู้เรียนที่ได้เรียนภาษาไทย (อยู่ในระดับดี) 5.ความพึงพอใจต่อหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียน (อยู่ในระดับดี) 6.การเรียนภาษาไทยในประเทศไทยมีประโยชน์มาก 7.การเรียนภาษาไทยให้ได้ผลดีนั้นจะต้องฝึกปฏิบัติด้านการพูด การ ฟัง การอ่าน และการเขียน
19.
แรงจูงใจในการเรียนภาษาไทยของชาวต่างประเทศ ชาวต่างประเทศที่เรียนภาษาไทยแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ
คือ ผู้ที่ เรียนในประเทศของตนกับผู้ที่เข้ามาเรียนในประเทศไทย การเรียนใน ประเทศของตนแบ่งเป็นการเรียนในสถาบันการศึกษาที่นับหน่วยกิตของ หลักสูตรและเรียนเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ หรือท่องเที่ยวในประเทศ ไทย ส่วนการเรียนภาษาไทยในประเทศไทยนั้นค่อนข้างมีจุดประสงค์ที่ หลากหลาย แรงจูงใจของการเรียนภาษาไทยของชาวต่างประเทศโดยเอา จานวนเป็นหลัก เราจะได้กลุ่มตัวอย่างประเภทแรกคือ เรียนภาษาไทยเพื่อ ความสนุก สมัยนี้มีการพูดคุยกันทางอินเทอร์เน็ต แล้วเดินทางมาพบกัน หลายคู่ ชาวจีนบางคนบอกว่าอยากอยู่เมืองไทย ญี่ปุ่นบางคนบอกว่า รัก ในหลวง บางคนมีแรงจูงใจเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว บอกว่าเมืองไทย เหมาะกับเขา เปรียบประเทศไทยเป็นบ้านหลังที่สองที่มีชีวิตเรียบง่าย
20.
อีกตัวอย่างหนึ่งของแรงจูงใจในการเรียนภาษาไทยของชาว ต่างประเทศ คือการเข้ามาลงทุนในประเทศไทย ตั้งบริษัทจนประสบ ความสาเร็จขยายสู้ประเทศเพื่อนบ้านของไทย
เขาพูดได้ และอ่านได้บ้าง จนถึงเวลาที่เหมาะสมสามารถปลีกตัวจากงานได้ก็มาเรียนภาษาไทยอย่าง เป็นทางการ ความรู้และประสบการณ์ของเขาจึงสูงมาก
21.
สาหรับคนมาเรียนที่ไม่มีเป้าหมายในการเรียนภาษาไทยก็มี เหมือนกัน เขาก็มีเป้าหมายกว้าง ๆ
ว่าเรียนภาษาไทยเท่านั้นจะเป็นฟัง พูด อ่าน เขียน และเรียนเนื้อหาอะไรก็ได้ ส่วนมากจะอายุยังน้อย เช่น เพิ่ง เรียนจบมัธยม พ่อแม่ก็ส่งให้มาเรียน หรือทางานเก็บเงินแล้วมาอยู่ใน ประเทศไทย เรียนอะไรสักอย่างที่เหมาะก็คือ ภาษาไทย แต่ในที่สุดเขาอาจ กลายเป็นผู้เชียวชาญภาษาไทยก็ได้ เป็นต้น เป้าหมายของเขาจะชัดเจนขึ้น จนเลือกสิ่งที่สนใจให้กับตัวเองได้ ไม่ใช่แค่หนีหนาว และความแพงของ ประเทศตนเองเท่านั้น
22.
ขอบคุณค่ะ
Download