ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน
โรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
(Autoimmune disease )
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวขนิษฐดา แก่นทอง เลขที่ 32 ชั้น6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาวขนิษฐดา แก่นทอง เลขที่32 ม.6/5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
โรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Autoimmunedisease
ประเภทโครงงาน การสารวจรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวขนิษฐดา แก่นทอง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียยนที่2/2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
1. ต้องการให้ที่ได้อ่านตระหนักถึงความสาคัญโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
2. เพื่อบอกแนวทางการรักษาโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
ขอบเขตโครงงาน
ผู้ที่สนใจในเรื่องโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
หลักการและทฤษฎี
โดยธรรมชาติเมื่อร่างกายของคนเราได้รับสิ่งแปลกปลอมเช่นเชื้อโรค
หรือสารเคมีเข้าไปในร่างกายระบบภูมิคุ้มกัน(Immunesystem)
ซึ่งเป็นระบบป้องกันภัยของร่างกายจะสร้างกลไกในการต่อต้าน
ไม่ให้สิ่งแปลกปลอมนั้นทาอันตรายต่อร่างกายได้แต่ไฉนเลยอยู่ๆกันไป
ภูมิคุ้มกันเพื่อนตายกลับกลายมาเป็นภูมิสังหารตนเองไปได้
จนเกิดโรคประหลาดที่ชื่อว่าแพ้ภูมิตนเองหรือภูมิทาลายตนเองขึ้นมา
โรคภูมิทาลายตนเองไม่ได้เป็นที่รู้จักหรือแพร่หลายนักในแรกเริ่ม
เนื่องจากคนไข้สามารถมาพบแพทย์ด้วยอาการหลากหลายระบบ
หรือแม้แต่เป็นอาการที่ไม่จาเพาะเจาะจงนักจนกระทั่งมีนักร้องชื่อดังระดับตานาน
ซึ่งก็คือคุณพุ่มพวงดวงจันทร์ได้เสียชีวิตไปจากโรคในกลุ่มนี้ที่เรียกว่าโรคลูปัส
หรือ เอสแอลอี (SLE)ทาให้คนเริ่มรู้จักกันในชื่อ"โรคพุ่มพวง"
แต่ถึงแม้จะเริ่มเป็นที่คุ้นหูกับคนทั่วไปบ้างแต่โดยมากก็ยังไม่มีใครเข้าใจจริงๆนัก
ว่าโรคนี้เป็นอย่างไรเกิดขึ้นได้อย่างไรหรือแม้แต่จะเฝ้าระวังตัวเองอย่างไร
ที่จะรู้ได้ว่าตนเองเข้าสู่ภาวะโรคดังกล่าวแล้ว
คาจากัดความง่ายๆของโรคภูมิทาลายตนเองก็คือเป็นโรคที่ร่างกายมีการโจมตีตนเอง
เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันของเราสูญเสียความสามารถในการแยกแยะ
ระหว่างเซลล์ที่เป็นของตนเองกับเซลล์ของผู้รุกราน
ทาให้ภูมิคุ้มกันของเราเบนเข็มมาโจมตีร่างกายตนเองโดยสร้างสารโปรตีนที่เรียกว่า
ออโตแอนติบอดี้ (ܳٴDzԳپǻ)ซึ่งสารนี้ทาให้เกิึϸารอักเสบ
และความเสียหายในอวัยวะซึ่งเป็นเป้าโจมตี
และหากเป็นอวัยวะที่สาคัญในร่างกายก็อาจทาให้คนไข้สูญเสียชีวิตได้
ปัจจุบันมีโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคภูมิทาลายตนเองมากกว่าร้อยชนิด
อุบัติการณ์การเกิดโรคเพิ่มขึ้นสองถึงสามเท่าตัวในทศวรรษที่ผ่านมามากกว่าร้อยละ
80 ของผู้ป่วยเป็นเพศหญิงสาเหตุของการเกิดโรคเชื่อว่ามาจากหลายปัจจัย
มีการศึกษาวิจัยมากมายแต่ยังไม่สามารถอธิบายได้ทั้งหมดปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
เช่นการติดเชื้อได้แก่ไวรัสแบคทีเรีย,สารพิษจากสิ่งแวดล้อม,ยาบางชนิด,แสงแดด
พื้นฐานกลไกการเกิดพฤติกรรมการทาลายตนเองคือสิ่งที่เรียกว่า
ความเหมือนกันทางโมเลกุล(Molecularmimicry) ระหว่างสิ่งแปลกปลอม
กับเซลล์ร่างกายของเราเองเช่นโปรตีนจากเซลล์ของเชื้อโรคหรือแม้แต่อาหาร
อาการแรกเริ่มของโรคอาจไม่จาเพาะคนไข้อาจมีอาการเพียงเหนื่อยเพลียอ่อนล้าง่าย
มึนงง ไข้ต่าๆปวดเมื่อยตามร่างกายหรือปวดข้อ
จนกระทั่งมีอาการที่เริ่มรุนแรงหรือมีอาการแสดงของอวัยวะที่ถูกภูมิคุ้มกันทาลายชัดเ
จนขึ้นตามมา
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. สืบค้นเกี่ยวกับโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. เครื่องเขียน
3. อินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ที่ได้อ่านตระหนักถึงโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
2. แนะนาวิธีการรักษาสาหรับผู้ที่เป็นโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และบ้านนางสาวขนิษฐดา แก่นทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระสุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง
http://www.absolute-health.org/thai/article-th-038.htm#next
http://haamor.com/th/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A0%E
0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2
%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%
87/#article101

More Related Content

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์