ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ฮาร์ึϸิสก์
ความหมายของฮาร์ึϸิสก์
ฮาร์ึϸิสก์ คือ อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้
มากมาย และ ทางานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์
หลายเท่าตัว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในขณะนี้
มักจะมีขนาดใหญ่หรือมักจะประกอบไปด้วยไฟล์ต่าง ๆ
มากมาย จนไม่สามารถที่จะใช้บนแผ่นดิสก์ต่อไปได้อีก
ฉะนั้นสิ่งที่จะมาเป็นตัวยืนในการเก็บข้อมูลจะเป็นสิ่ง
อื่นไปไม่ได้ นอกจากเจ้าฮาร์ึϸิสก์นี่เอง ภายใน
ฮาร์ึϸิสก์จะประกอบไปด้วยหัวอ่าน (เขียน) จานแม่เห็ล
กชนิดแข็ง และวงจรควบคุมการทางานต่าง ๆ สาหรับ
ควบคุมหัวอ่าน (เขียน) และจานแม่เหล็กสัมพันธ์กัน
ประเภทของฮาร์ึϸิสก์
มาตรฐานของฮาร์ึϸิสก์ที่มีใช้งานอยู่บน
เครื่องซีพีปัจจุบัน ใช้มาตรฐานเดียวกันเกือบ
ทั้งหมด คือ E-IDE ที่พัฒนาต่อมาจากมาตรฐาน
IDE เดิม ซึ่งโดยทั่วไปก็มักเรียกรวมๆ กันว่า IDE
นั้นเอง นอกจากนั้นยังมีมาตรฐาน SCSI (อ่านว่า
สกัสซี่) ที่ใช้กับเครื่องในระดับสูง เช่น เครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น
หลักการทางานของฮาร์ึϸิสก์
เมื่อมีสัญญาณไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดที่หัวอ่าน/เขียนขดลวด
ชุดนี้ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนา และในการอ่านจะอาศัยหลักการ
เหนี่ยวนาทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก เนื่องจากถ้าสนามแม่เหล็กมีการ
เปลี่ยนแปลงจะเป็นสัญญาณทาไฟฟ้า เมื่อหัวอ่านฮาร์ึϸิสก์ได้พบ
บริเวณที่มีข้อมูลก็จะเหนี่ยวนาสัญญาณให้กับหัวอ่านและคอนโทรล
เลอทราบ จากนั้นจะมีสัญญาณมาสู่วงจรขยายสัญญาณ
(AMP)สัญญาณนี้จะผ่าน Filter ส่งต่อให้วงจรปรับคลื่น(Differential
Amp)และถูกแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล และตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง
ขั้นตอนการอ่านจะเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสัญญาณไฟฟ้า
และ ในการเขียนจะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าเป็นสนามแม่เหล็กเพื่อ
เหนี่ยวนาสารแม่เหล็กให้เกิดการเรียงตัวตามสนามแม่เหล็กของ
หัวอ่าน
ระบบการตรวจสอบการอ่านของฮาร์ึϸิสก์
• ระบบ CRC(Cyclic Redundancy check)
– จะเป็นระบบการตรวจสอบข้อมูลทุกๆ512 byte จะมีบิตในแต่ละ
FAT เพื่อตรวจสอบการอ่านข้อมูลที่กระทาแบบอ่านอย่างเดียว โดยที่
วิธีCRC นี้จะไม่สามารถระบุตาแหน่งและแกไขข้อมูลที่ผิดพลาดได้
• ระบบ ECC(ErrorCorrectional Code)
– เป็นระบบที่ตรวจสอบข้อมูลที่สามารถระบุตาแหน่งที่ผิดพลาดของ
ข้อมูลที่บันทึกและแก้ไขให้ถูกต้อง โดยตรวจสอบข้อมูลในแต่ละบิต
แต่การแก้ไขข้อมูลที่สูญหายไปเล็กๆน้อยๆเท่านั้น
ประเภทของฮาร์ึϸิสก์
1.ฮาร์ึϸิสก์แบบ IDE(Integrated Drive Electronics)
จะมี 40ขา เป็นฮาร์ึϸิสก์ที่ใช้กับเครื่อง 486และมีความ
จุไม่เกิน 528 MB กาเชื่อมต่ออาศัยการ์ดที่เรียกว่า
แผงวงจรควบคุม (ControllerCard) และเสียบลงบนแผง
เมนบอร์ด สามารถต่อได้สูงสุดได้ถึง 2 ตัว ไม่
สนับสนุนการต่อร่วมกับอุปกรณ์อื่นๆ
2.ฮาร์ึϸิสก์แบบ EIDE(Enhanced Integrated
Drive Electronics)จะมีจานวนขา 40 ขา มีความจุ
มากกว่า 528 MB สามารถต่อสูงสุดได้ 4 ตัว เป็นที่
นิยมใช้ในปัจจุบัน
3 ฮาร์ึϸิสก์แบบ SCSI (สกัชซี่)(Small
Computer System Interface)จะมีจานวนขา 50 ขา
ฮาร์ึϸิสก์แบบนี้จะมีความเร็วมากกว่าแบบIDE
เกือบเท่าตัว นิยมใช้กับงานประเภทมัลติมีเดีย
โครงสร้างการทางานของฮาร์ึϸิสก์
• ส่วนที่เป็นแผงวงจรควบคุมการอ่าน/บันทึกข้อมูล
- คอลโทรลเลอร์ชิป(Controller Chip)บนแผงวงจรเรียกว่า
(Logic Board)
• ไมโครคอนโทรลเลอร์(Micro Controller)
• บัฟเฟอร์(Buffer)
โครงสร้างการทางานของฮาร์ึϸิสก์
• ส่วนที่เป็นกลไกในการอ่าน/บันทึกข้อมูล
– ดิสก์บันทึกข้อมูล หรือ แพล็ตเตอร์(Platter)
จัดเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ
– หัวอ่านฮาร์ึϸิสก์(Read/Write heads)
– แขนกลควบคุมหัวอ่าน(Head arm accumulator)
– มอเตอร์ควบคุมจานบันทึก(Spindle stepping moter)
– Cables and Connector สายแพเส้นเล็กเชื่อมจุดต่างๆ
ทางานรวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัวความ
จุขนาดใหญ่ ร้านค้าและเรียกข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
กว่าฟลอปปี้ดิสก์หรือซีดีรอม ข้อมูลไม่หายไปเมื่อคุณ
ปิดคอมพิวเตอร์ คงที่โดยปกติภายใน mislaid
คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถไม่ได้รับ ราคาถูก
ค่าใช้จ่ายต่อเมกะไบต์เมื่อเทียบกับสื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ
ฮาร์ึϸิสก์สามารถเปลี่ยนและปรับได้ตามความจาเป็น
สามารถมีสองฮาร์ึϸิสก์ในเครื่องหนึ่งสามารถทา
หน้าที่เป็นกระจกอื่น ๆ ของและสร้างสาเนาสารอง
ข้อดีของฮาร์ึϸิสก์
ฮาร์ึϸิสก์ล้มเหลวในที่สุดที่จะหยุดเครื่อง
คอมพิวเตอร์จากการทางาน เกิดปัญหา'หัว'ปกติ
สามารถสร้างความเสียหายดิสก์พื้นผิวของที่
นาไปสูกาสูญเสียข้อมูลในภาคที่ ดิสก์ได้รับ
การแก้ไขภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่าง
ง่ายดายและไม่สามารถถูกโอนไปยัง
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่น
ข้อเสียของฮาร์ึϸิสก์

More Related Content

ฮาร์ึϸิสก์