ݺߣ
Submit Search
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
•
0 likes
•
4,867 views
ปิยนันท์ ราชธานี
Follow
การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
Read less
Read more
1 of 16
Download now
Download to read offline
More Related Content
สรุปการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
1.
การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส
และอุปสรรค (SWOT) ใน การดาเนินโครงการส่งเสริม การใช้จักรยานในชีวิตประจาวัน (เมืองปั่นได้เมืองปั่นดี) เทศบาลเมืองลาพูน จังหวัดลาพูน.
2.
จุดแข็ง (Strengths) นโยบาย/การส่งเสริมของ ทางเทศบาลเมืองลาพูน สังคม/การรวมกลุ่ม กายภาพ/สภาพแวดล้อม/ การจราจร -
การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิง นิเวศน์/การกาหนดยุทธศาสตร์เพื่อ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ - การสนับสนุนกิจกรรมการใช้ จักรยาน - มีงบประมาณสนับสนุนกิจกรรม การปั่นจักรยาน - มีผลการสารวจและการวิจัยใน พื้นที่ - มีการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ที่ เหมาะสม อาทิ facebook, page , เสียงตามสาย - มี ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม เ พื่ อ ท า กิจกรรม เช่น การจัดตั้งชมรม จักรยาน - ชุมชนมีความเข้มแข็ง - ชุมชนมีทัศนคติที่ดี และ พร้อมให้ความร่วมมือกับ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพโดย การปั่นจักรยาน - เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วัฒนธรรม (เมืองเก่าลาพูน) - มีพืน้ที่สีเขียว - มีเส้นทางจักรยาน ร้านจาหน่าย อุปกรณ์การปั่นจักรยาน - เมืองมีพื้นที่ขนาดเล็ก ระยะการ เดินทางสามารถเชื่อมโยงกับ สถานที่ ต่างๆได้ในระยะใกล้ - การจราจรไม่ติดขัด
3.
จุดอ่อน (Weaknesses) นโยบาย/การส่งเสริมของทาง เทศบาลเมืองลาพูน สังคม/การรวมกลุ่ม กายภาพ/สภาพแวดล้อม/ การจราจร -
การประชาสัมพันธ์ การดาเนิน โครงการต่างๆ ยังไม่ทั่วถึง ซึ่งทาให้ ประชาชนส่วนใหญ่ ไม่ทราบข่าว การดาเนินงานของทางเทศบาล - การรณรงค์ส่งเสริมการใช้จักรยาน มีเพียงภายในเขตเทศบาลเท่านั้น - ขาดการบรูณาการร่วมกันระหว่าง หน่วยงานราชการและชุมชน - ประชาชนยังขาดความรู้ใน การใช้จักรยานที่ถูกต้อง ความพร้อมด้านสุขภาพของ ผู้ปั่น - ขาดการประสานงานระหว่าง หน่วยงานภาครัฐกับชมรม จักรยานต่างๆ - ขาดระเบียบวินัยในการใช้ ถนนร่วมกัน - ถนนบางเส้นในเขตเทศบาลยัง ไม่เอื้อต่อการเป็นเส้นทางปั่น จักรยานเนื่องจาก ถนนมีขนาด เล็ก แคบ ไม่มีเครื่องหมาย จราจร ไฟสาธารณะ มีร้านค้า แผงลอยบริเวณทางเท้าและมี การจราจรที่หนาแน่น - การออกแบบเส้นทางจักรยาน ยังไม่สามารถเชื่อมโยงกับระบบ การขนส่ง และ สถานที่สาคัญ ต่างๆของเมืองได้
4.
โอกาส (opportunity) นโยบาย/การส่งเสริมของทางเทศบาล เมืองลาพูน สังคม/การรวมกลุ่ม กายภาพ/สภาพแวดล้อม/ การจราจร -
เกิดการขยายตัวการลงทุนของแหล่งทุน ภายในและภายนอกจากเศรษฐกิจด้าน การท่องเที่ยว - มีนโยบายส่งเสริมให้เป็นเมืองท่องเที่ยว เชิงนิเวศน์ เกิดการพัฒนา ฟื้ นฟูแหล่ง ท่องเที่ยวในพื้นที่ ทาให้ชุมชนเกิด รายได้จากการท่องเที่ยว - ทางเทศบาลให้ความร่วมมือในการปั่น จักรยานทุกวันเสาร์ - กระแสการรณรงค์ในการเสริมสร้าง สุขภาพจากนโยบายระดับประเทศ ส่งผลต่อ โอกาสการพัฒนากิจกรรมการ ปั่นจักรยานในระดับพืน้ที่ - หน่วยงานราชการสถาบันการศึกษา ร่วมกันหาแนวทางในการผลักดันให้ เกิดเส้นทางจักรยานรอบเมืองลาพูน - สร้างความเข้าใจให้กับชุมชน - เปิดโอกาสให้สถาบันการศึกษาเข้ามา สร้างความร่วมมือเพื่อขับเคลื่อน การ พัฒนาในพื้นที่ โดยเฉพาะการส่งเสริม ให้เยาวชนเข้าร่วมการปั่นจักรยาน - เปิดโอกาสให้คนรู้จักผลิตภัณฑ์ชุมชน - คนในชุมชนได้ออกกาลังกายโดย จักรยาน และได้พบปะพูดคุยกัน ส่งผล ต่อ สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี - เกิดการพัฒนาเชิงพื้นที่ หรือการปรับปรุงระบบ สาธารณูปโภคของเมือง จาก นโยบายการส่งเสริม เมืองเก่าลาพูน - มีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น ลด มลพิษทางอากาศได้
5.
อุปสรรค (Threats) นโยบาย/การส่งเสริมของทาง เทศบาลเมืองลาพูน สังคม/การรวมกลุ่ม กายภาพ/สภาพแวดล้อม/ การจราจร -
ขาดการบรูณาการร่วมกันระหว่าง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ยวข้อง - นโยบายส่ งเสริ มเมืองนิ คม อุตสาหกรรมส่งผลให้การจราจร คับคั่ง เป็ นอุปสรรคต่อผู้ใช้ จักรยาน - ขาดหน่วยงานหลักที่เข้ามาเป็น เจ้าภาพและดาเนินกิจกรรม อย่าง ต่อเนื่อง - บางคนขาดทัศนคติที่ดีต่อ การปั่นจักรยาน - ขาดทักษะในการปั่นจักรยาน บนท้องถนน - สภาพแวดล้อม และสภาพถนน/ การจราจรยังไม่ได้มาตรฐานที่ เอื้อต่อการปั่นจักรยาน - ยังไม่มีช่องทางสาหรับจักรยาน ที่ได้มาตรฐานเส้นทางจักรยาน ที่ดี - ภัยจากสัตว์ข้างวิ่งตัดหน้า
6.
เพศ การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 2 ชาย
33.3 45.8 หญิง 66.7 54.2 อายุ การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 2 สูงสุด 88 73 น้อยสุด 10 23 เฉลี่ย 52 48 สรุปทัศนคติต่อการใช้จักรยาน (จากแบบสอบถาม)
7.
76.2 51.5 33.7 29.1 18.2 12.9 6.3 3.9 83.3 54.2 65.3 45.8 26.4 5.6
5.6 1.4 ร้อยละของวัตถุประสงค์ในการเลือกปั่นจักรยาน การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 2
8.
34.8 31.3 22.6 10.4 51.4 16.7 26.4 5.6 1-2 วันต่อสัปดาห์ ทุกวัน
3-4 วันต่อสัปดาห์ 5-6 วันต่อสัปดาห์ ความถี่ในการใช้จักรยาน การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 2
9.
50 37.1 10.4 2.4 69.4 22.2 6.9 1.4 เย็น(15.00-20.00
น.) เช้า(04.00-10.00 น.) กลางวัน(10.00-15.00 น.) ค่า(หลัง 20.00 น.) ช่วงเวลาที่ใช้จักรยานในแต่ละวัน การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 2
10.
45.6 18.9 13.8 12.4 9.2 31.9 12.5 27.8 18.1 9.7 15-30 นาที
ต่ากว่า 15 นาที มากกว่า 1 ชั่วโมง 31-45 นาที 46-60 นาที ระยะเวลาในการปั่นจักรยานแต่ละครั้ง การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 2
11.
66.5 22.1 19.2 16.7
15.8 10.7 66.7 16.7 27.8 38.9 12.5 16.7 สถานที่ที่นิยมใช้เป็นพื้นที่ในการปั่นจักรยาน การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 2
12.
68.1 55.6 26.4 59.7 54.2 29.2 36.1 47.2 31.9 6.9 68.1 55.6 26.4 59.7 54.2 29.2 36.1 47.2 31.9 6.9 ช่องทางที่สามารถสื่อสารข้อมูลถึงผู้ใช้จักรยานได้ทั่วถึง การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 1 การสารวจแบบสอบถามครั้งที่
2
13.
85 13.8 86.2 16.7 เคย ไม่เคย การประสบเหตุหรือได้รับบาดเจ็บจากการใช้จักรยาน การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 1
การสารวจแบบสอบถามครั้งที่ 2
14.
ลาดับ เหตุผลในการเลือกใช้จักรยาน การสารวจแบบสอบถาม ครั้ง ที่
1 การสารวจแบบสอบถาม ครั้งที่ 2 เปอร์เซ็นต์การตอบ เปอร์เซ็นต์การตอบ 1 เป็นการออกกาลังกาย 19.8 20 2 ประหยัดค่าใช้จ่าย 19.8 20 3 ช่วยลดมลพิษ 20 20 4 ได้ท่องเที่ยว 19.98 20 5 มีเพื่อนเพิ่มขึ้น 20 20 6 หลีกเลี่ยงการจราจรติดขัด 20 20 7 สะดวกในการเดินทาง 19.96 20 8 กาลังได้รับความนิยม 20 20 9 จักรยานดูแลรักษาและซ่อมง่าย 20 20 10 ปลอดภัย 19.98 20 11 จักรยานราคาไม่แพง 20.02 20.02 12 ประหยัดเวลาในการเดินทาง 20 20 13 มีทางจักรยานให้ใช้ 20 20.02 14 ส่งเสริมธุรกิจหรือใช้ในการประกอบอาชีพ 20 20 15 มีคนชักชวน 20 20 เหตุผลในการเลือกใช้จักรยาน
15.
ข้อเสนอแนะ • ควรมีการปรับปรุงเส้นทางจักรยานที่มีอยู่ให้ได้มาตรฐาน • นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่นควรมีความต่อเนื่อง •
หน่วยงานภาครัฐควรทางานแบบบูรณาการ • ควรมีงบประมาณสนับสนุนการดาเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง
Download