ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
บทที่ ๕
ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ ; ภาพสะท้อน
ลักษณะของภาษาไทย
ตัวอย่าง
การพูด การเขียน ภาษาไทยของนักศึกษาชาวต่างประเทศ ; ภาพสะท้อน
๑. การแทรกแซงของภาษาแม่ในภาษาเป้าหมาย ซึ่งผู้เรียนเป็นคนพูด
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ จึงเคยชินกับการวางคาขยายไว้หน้าคาขยาย
ตัวอย่างเช่น
วันนี้ร้อนอากาศ (วันนี้อากาศร้อน)
รถอีกทีเสียค่ะ (รถเสียอีก (ครั้ง) ค่ะ)
หอพักนี้มากถูก I.C. (หอพักนี้ถูกกว่า I.C.)
๒. ความยากของภาษาไทยอันเกิดจากลักษณะเฉพาะของภาษา เช่น
- เป็นภาษาคาโดด
- การเรียงลาดับคาเป็นกฎไวยากรณ์ที่ดูเหมือนง่ายแต่บางครั้งใช้ไม่ได้
เช่น คุณครั้งแรกเคยมาหรือไหม (คุณเคยมาครั้งแรกหรือ)
- ความหมายไม่เป็นที่นิยมยอมรับหรือเข้าใจ
- การใช้ลักษณนามหลังจานวนนับ
เช่น ดอกไม้สีเหลืองบานหลาย (ดอกไม้สีเหลืองบานเต็มไปหมด)
๓. ความไม่เข้าใจการใช้คา การใช้ภาษา ซึ่งเป็นที่นิยมยอมรับของเจ้าของ
ภาษา ซึ่งไม่สามารถเปิดหาความหมายจากพจนานุกรมแล้วใช้แทนกันได้ เช่น คาว่า
“ล้าง อาบน้า สระผม”
- ภาษาอังกฤษใช้ “wash” แทน “take a bath , shampoo” ได้
- ภาษาไทยไม่สามารถใช้แทนกันเป็น “ล้างผม อาบน้าจาน สระมือ”ได้
C.A. ในทางปฏิบัติ
C.A. คือ ศึกษาการวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย
(Contrastive Analysis) ช่วยให้สามารถพัฒนาแบบฝึกหัดการออกเสียง การฝึก
โครงสร้างภาษาและไวยากรณ์ได้เป็นอย่างดี และการพัฒนาสื่อ ตารา แบบฝึกหัด ที่เป็น
ระบบต้องอาศัยผลงานการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบภาษาเป็นอย่างมาก
ข้อเสนอแนะ C.A. ในทางปฏิบัติ
- หากผู้สอนทราบล่วงหน้า ควรมีการเตรียมตัวและศึกษาว่านักเรียนของท่าน
เป็นผู้พูดภาษาใด และศึกษาการวิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาแม่กับภาษาเป้าหมาย
(Contrastive Analysis หรือ C.A.) ของภาษานั้นๆ
- ศึกษาวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับความแตกต่างของภาษาที่ตนต้องสอน เช่นถ้าจะไป
สอนภาษาไทยที่ญี่ปุ่น ควรอ่านงาน C.A. ของนฤมล ลี้ปิยะชาติ
- หากผู้เรียนคละกันหลายภาษาในชั้นเดียว ย่อมต้องระมัดระวังข้อได้เปรียบ
เสียเปรียบที่จะเกิดขึ้น
- ไม่ควรใช้ภาษาอังกฤษในการสอนมากเกินไป เพราะผู้เรียนอาจไม่เข้าใจและ
ต่อต้าน
ลักษณะภาษาไทย
๑. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงขึ้นลง (เสียงวรรณยุกต์)
เสียงวรรณยุกต์ถือเป็นเรื่องยากที่สุดของภาษา ผู้เรียนชาวต่างประเทศมักประสบ
ปัญหาการออกเสียงวรรณยุกต์
ตัวอย่างเช่น
คาว่า ขวยเขิน ออกเสียงเป็น ควยเคิน
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงสั้น – ยาว และมีเสียงท้ายที่สาคัญต่อความหมาย
- ภาษาจีน มีเสียงขึ้นลงเหมือนภาษาไทย แต่ความยากที่คนจีน
ออกเสียงไม่เป็นคือเสียงสั้น-ยาว และเสียงพยัญชนะท้าย ๘ เสียง (มาตราตัวสะกด)
ตัวอย่างเช่น คาว่า ดีใจ ออกเสียงเป็น ดีจาย
อาคาร ออกเสียงเป็น อังคาร
- ภาษาญี่ปุ่น มีตัวสะกดน้อยและเสียง กง กน กม อาจออกเสียง
ทดแทนกันได้ โดยไม่มีความสาคัญต่อความหมาย
เช่น คาว่า ประตู ออกเสียงเป็น ม่อง ม่อน ม่อม
นอกจากนี้เสียงสั้นยาวก็สาคัญ เช่น คาว่า ใส่นม กับ ส่ายนม เขาจะจาว่าต้อง
พูดเสียงสั้นยาวให้ถูกต้อง
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๓. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีการลงและไม่ลงน้าหนักเสียง แบ่งเป็น ๔ ระดับ
๓.๑ ไม่ลงน้าหนัก Unstressed พยางค์เปิดมักเป็นพยางค์ที่ไม่ลง
น้าหนักเมื่อมีพยางค์ที่ลงน้าหนักมารับข้างท้าย
พ่อและแม่ จะไปไหน
ไปเที่ยว อยู่ที่บ้าน
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๓.๒ การลงน้าหนัก Stressed คาที่ทาหน้าที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของ
ประโยค เช่น เป็นประธาน กริยา กรรม มักลงน้าหนัก แต่หากคานั้นมีหลายพยางค์
บางพยางค์จะไม่ลงน้าหนัก เช่น กตัญญูกตเวที เป็นต้น
๓.๓ การลงเสียงเน้นหนัก emphatic จงใจออกเสียงเน้นบางพยางค์
ในกรณี เมื่อต้องการโต้แย้ง แสดงข้อเปรียบเทียบ หรือเน้นความสนใจ
เช่น ขอดินสอแดง ไม่ใช่ดินสอดา, ฉันบอกให้เธอทาเดี๋ยวนี้
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๓.๔ การลงเสียงเน้นหนักพิเศษ intensified เน้นความหมายพิเศษหรือ
แสดงอารมณ์ อาจทาให้เสียงวรรณยุกต์ต่างจากปกติ
เช่น คาว่า ยุ้ง ยุ่ง!
ดีใจ๊ ดีใจ!
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๔. ภาษาไทยมีช่วงต่อของเสียงชิดและห่าง
- ช่วงต่อชิด (close juncture) เช่น น้าเดือด สิบสอง ไปบ้าน
- ช่วงต่อห่าง (Open juncture) ช่วงต่อห่างต่างกันทาให้ความหมายเปลี่ยน
เช่น รถบรรทุกของ + ไปตลาด
รถ + บรรทุกของไปตลาด
จะเอาข้าวคลุกกะปิ + ก็หมด
จะเอาข้าวคลุก + กะปิก็หมด
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๕. ภาษาไทยมีทานองเสียง ขึ้นหรือตก (intonation) เพื่อช่วยแสดงความหมาย
ของประโยคคาถาม คาสั่ง คาตอบ อ้อนวอน สงสัย ฯลฯ เช่น
-ทานองเสียงขึ้น ทาอะไรอยู่จ๊ะ (คาถาม)
ไปด้วยกันหน่อยนะ (คาสั่ง)
-ทานองเสียงตก ทาอะไรอยู่จ้ะ (คาตอบ)
ไปด้วยกันหน่อยน่ะ (อ้อนวอน)
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๖. ภาษาไทยใช้ลักษณนาม ภาษาไทย มีการใช้ลักษณนามที่หลากหลาย แต่
ชาวต่างประเทศมิอาจจาลักษณนามได้หมด จึงมีการใช้ลักษณนามที่ผิดเพี้ยน เช่น
มัคคุเทศก์ชาวพม่า ใช้ลักษณนามของเรือ เป็น เรือคันหนึ่ง
ใช้ลักษณนามของภูเขา เป็น ภูเขาสองใบ
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๗. ภาษาไทยมีบุรุษสรรพนาม มีความสาคัญต่อความสุภาพ การยกย่องให้เกียรติ และ
ชั้นของคนในสังคมด้าน ตาแหน่ง หน้าที่การงาน อายุ เพศ วัย ต้องใช้ให้เหมาะสม
๘. ภาษาไทยมีคาราชาศัพท์หรือคาสุภาพ
เมื่อสอนในระดับสูง ขั้นอ่าน เขียนและศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย นักศึกษา
ต้องประสบกับความยากของภาษาไทย เช่น คาว่า ท้องฟ้า หากเป็นคาราชาศัพท์ เช่น
คาว่า โพยม คัคนานต์ นภัทร ฯลฯ ผู้เรียนต่างประเทศไม่สามารถเข้าใจได้ว่าคา
เหล่านี้มีความหมายว่า ท้องฟ้า จึงเป็นหน้าที่ของผู้สอนที่ต้องนาคาเหล่านี้มาสอนให้
หลากหลาย
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๙. ภาษาไทยมีภาษาพูดและภาษาเขียน
บทสนทนาซึ่งใช้ภาษาตามจริง ย่อมมีภาษาพูดจานวนมาก แต่ในบทอ่านและฟัง
มีการปรับเป็นภาษาเขียนมากขึ้น เช่น “นิดหน่อย” เป็น “เล็กน้อย”
ผู้สอนไม่อาจเลี่ยงคาลงท้าย (particle) สาหรับผู้เรียนภาษาไทยในประเทศไทย
ได้ เพราะต้องมีคาถามว่า สิ ซิ ล่ะ รึ เหรอ / ngiá / เหล่านี้ใช้อย่างไร
ลักษณะภาษาไทย (ต่อ)
๑๐. ภาษาไทยใช้การเรียงคาเพื่อเข้าประโยค
ประโยคของภาษาไทยเรียงแบบ ประธาน กริยา กรรม เมื่อชาวต่างชาติได้มา
ศึกษาภาษาไทย จึงนิยมเรียงคาตามหลักการเรียงประโยค เช่น ผมเก็บไว้สมุดในชักลิ้น
โต๊ะ (ผมเก็บสมุดไว้ในลิ้นชักโต๊ะ)
อีกประการหนึ่ง ภาษาต่างประเทศมักมีการระบุเวลาที่ชัดเจน แต่ภาษาไทยไม่
ระบุเวลาที่แน่ชัด ชาวต่างประเทศ จะงงว่า กริยานั้นกระทาเมื่อไหร่ ทาไปแล้ว กาลังทา
หรือเป็นเรื่องอนาคต
รายชื่อสมาชิก
นางสาวอภิชญา กิตติพัชรินทร์ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๐๔
นางสาวรัฐวรรณ จิตต์การุณย์ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๐๙
นางสาวสุภาภรณ์ ผึ้งเถื่อน รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๒๘
นางสาวอาภัสรา ปราสาทภิญโญ รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๕๐
นางสาวรัฐภรณ์ แสนปาง รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๕๖
นางสาวกนกวรรณ วงศ์ไชย รหัส ๕๖๘๑๑๒๔๐๕๗

More Related Content

บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ