ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
ปัจจุบันนี้คาดว่ามีสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ
ที่สามารถจาแนกชนิดได้อยู่ในโลกนี้ถึง 1.4 ล้านชนิด
และคาดว่าจะมีจานวนสิ่งมีชีวิตอีกประมาณ 4 - 30
ล้านชนิดที่ยังไม่ได้รับการค้นพบและจัดจาแนก การจัดหมวดหมู่ของ
สิ่งมีชีวิตจะอาศัยลักษณะต่างๆเป็ นหลักโดยเปรียบเทียบความเหมือน
หรือแตกต่าง
ซึ่งความเหมือนของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นผ่านขบว
นการทางวิวัฒนาการที่เหมือนกัน
ดังนั้นการจัดหมวดหมู่จึงเป็ นการบอกว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มมีความสั
มพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอีกกลุ่มหนึ่งหรือไม่
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่นามาใช้ในการจัดหมวดหมู่เช่น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (morphological characteristics)
นอกจากนี้ยังอาจใช้ลักษณะทางกายวิภาค (anatomy) และสรีรวิทยา
(physiology) มาใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ได้
การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็ นหมวดหมู่ไม่ใช่เพียงเป็ นการ
บอกชื่อชนิดของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
แต่จะต้องสามารถบ่งบอกถึงลาดับของสิ่งมีชีวิตและตาแหน่งในการเกิ
ดขึ้นของชนิดในขบวนการวิวัฒนาการได้ด้วย การศึกษาชนิด
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ในเชิงวิวัฒนาการระ
หว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ เรียกว่า อนุกรมวิธาน taxonomy
หรืออาจเรียกว่า
Systematics แต่นักชีววิทยาบางส่วนอาจจะแยกทั้งสองศาสตร์นี้ออ
กจากกัน
โดยถือว่า Taxonomy เป็ นการศึกษาเพื่อให้คาอธิบายรายละเอียดเกี่
ยวกับสิ่งมีชีวิตนั้นๆ (description of species)
ส่วน systematics เป็ นการศึกษาเพื่อจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒน
าการมาเหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
ซึ่งสามารถใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ของชาติวงศ์วานและนามาจั
ดเป็ นประวัติชาติพันธุ์ (phylogeny) ของสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ ได้
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) จะทาการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต
(Classification) โดยการจัดลาดับหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตเริ่มจัด
เป็ นกลุ่มใหญ่ก่อน แล้วจึงแบ่งแยกออกเป็ นกลุ่มย่อย
ๆอีกหลายระดับ โดยพิจารณาจาก กลุ่มใหญ่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ
อาณาจักร(Kingdom) กลุ่มย่อยรองลงมา สาหรับสัตว์เรียกไฟลัม
(Phylum) สาหรับพืชในอดีตเรียก ดิวิชัน
(Division) ปัจจุบันใช้ไฟลัมเช่นเดียวกับสัตว์
ในดิวิชันหรือไฟลัมหนึ่ง ๆ แยกออกเป็ นคลาส หลายคลาส
(Class) หรือชั้น ในแต่ละคลาสแยกออกเป็ นหลายออร์เดอร์
(Order) หรืออันดับแต่ละออร์เดอร์แยกออกเป็ นหลายแฟมิลี
(Family) หรือวงศ์ ในแต่ละแฟมิลียังแยกออกเป็ นจีนัส (Genus)
หรือสกุล แต่ละจีนัสแบ่งย่อยออกเป็ นหลายสปี ชีส์ (species)
หรือชนิด
อาณาจักร (Kingdom)
ดิวิชัน (Division) หรือ ไฟลัม (Phylum)
คลาสหรือชั้น (Class)
ออร์เดอร์หรือ อันดับ (Order)
แฟมิลี่หรือวงศ์ (Family)
จีนัสหรือสกุล (Genus)
สปี ชีส์หรือชนิด(species)
ในระหว่างกลุ่ม อาจมีกลุ่มย่อยอีก เช่น Sub Kingdom,
Sub division เป็ นต้น พืชแต่ละชนิด อาจมีลักษณะต่างกันเล็กน้อย
เรียกว่า พันธุ์ สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในสปี ชีส์
เดียวกันต้องมีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกันทางบรรพบุรุษสามารถสืบพันธุ์กันได้
ลูกที่ได้จะต้องไม่เป็ นหมัน
ตัวอย่างการจะเรียกมนุษย์สายพันธุ์ปัจจุบันโดยใช้หลักอนุกรมวิธาน
จะเรียกได้ดังนี้
Kingdom Animalia
Phylum Chordata
Subphylum Vertebrate
Class Mammalia
Subclass Theria
Order Primates
Family Hominidae
Genus Homo
Species Homo sapiens
ชื่อของสิ่งมีชีวิต
ภาพ คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus)
(ที่มา http://www.il.mahidol.ac.th)
ชื่อของสิ่งมีชีวิต โดยปกติแล้วการเรียกชื่อของสิ่งมีชีวิตมีดังนี้ คือ
1. ชื่อพื้นเมือง (Local name) เรียกตามท้องถิ่น
2. ชื่อสามัญ (common name) คือ ชื่อที่เรียกกันทั่ว ๆ ไป
อาจเรียกตามลักษณะรูปร่าง ถิ่นกาเนิดหรือสถานที่อยู่ก็ได้เช่น
ปากกาทะเล หอยมุก เป็ นต้น ซึ่งชื่อดังกล่าวอาจเรียกต่างกัน
ในแต่ละที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดได้
3. ชื่อวิทยาศาสตร์ (scientific
name) คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) นักพฤกษศาสตร์
ชาวสวีเดน ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดา
แห่งอนุกรมวิธาน เป็นคนกาหนดชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตโดยใช้
ระบบทวินาม (Binomail nomenclature)
ประกอบด้วยสองส่วนหลัก และ อีกหนึ่งส่วนรอง คือ
ส่วนแรกเป็ นส่วนของชื่อสกุล (generic name)
ส่วนที่สองเป็ นชื่อที่ระบุสปี ชีส์ (Specific epithet)
ทั้งสองส่วนต้องทาให้เป็ นคาในภาษาลาตินเสมอ
ชื่อจีนัสตัวแรกเขียนด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ
ตัวแรกของสปี ชีส์เป็ นชื่อตัวพิมพ์เล็กธรรมดา
ต้องเขียนให้ต่างจากอักษรอื่นการพิมพ์หรือเขียนชื่อวิทยาศาสตร์จะต้
องขีดเส้นใต้หรือ พิมพ์หรือเขียนเป็ นตัวเอนไม่ต้องขีดเส้นใต้ทั้ง 2
ชื่อไม่ติดกัน หรืออาจมีส่วนที่สาม
ก็คือชื่อผู้ตั้งหรือผู้คนพบสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น เรียกระบบนี้ว่า
การตั้งชื่อแบบทวินาม (binomial nomenclature)
ตัวอย่างเช่น
ชื่อวิทยาศาสตร์ของถั่วลันเตา คือ Pisum sativum L.
Genus คือ Pisum
Species คือ sativum
ผู้ตั้งชื่อ คือ L. ย่อมาจาก Linn. หรือ Carolus Linnaeus

More Related Content

การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต

  • 1. การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต ปัจจุบันนี้คาดว่ามีสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่สามารถจาแนกชนิดได้อยู่ในโลกนี้ถึง 1.4 ล้านชนิด และคาดว่าจะมีจานวนสิ่งมีชีวิตอีกประมาณ 4 - 30 ล้านชนิดที่ยังไม่ได้รับการค้นพบและจัดจาแนก การจัดหมวดหมู่ของ สิ่งมีชีวิตจะอาศัยลักษณะต่างๆเป็ นหลักโดยเปรียบเทียบความเหมือน หรือแตกต่าง ซึ่งความเหมือนของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นผ่านขบว นการทางวิวัฒนาการที่เหมือนกัน ดังนั้นการจัดหมวดหมู่จึงเป็ นการบอกว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละกลุ่มมีความสั มพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอีกกลุ่มหนึ่งหรือไม่ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่นามาใช้ในการจัดหมวดหมู่เช่น ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (morphological characteristics) นอกจากนี้ยังอาจใช้ลักษณะทางกายวิภาค (anatomy) และสรีรวิทยา (physiology) มาใช้ในการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ได้ การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็ นหมวดหมู่ไม่ใช่เพียงเป็ นการ บอกชื่อชนิดของสิ่งมีชีวิตเท่านั้น แต่จะต้องสามารถบ่งบอกถึงลาดับของสิ่งมีชีวิตและตาแหน่งในการเกิ ดขึ้นของชนิดในขบวนการวิวัฒนาการได้ด้วย การศึกษาชนิด ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ในเชิงวิวัฒนาการระ หว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ เรียกว่า อนุกรมวิธาน taxonomy หรืออาจเรียกว่า Systematics แต่นักชีววิทยาบางส่วนอาจจะแยกทั้งสองศาสตร์นี้ออ กจากกัน โดยถือว่า Taxonomy เป็ นการศึกษาเพื่อให้คาอธิบายรายละเอียดเกี่ ยวกับสิ่งมีชีวิตนั้นๆ (description of species) ส่วน systematics เป็ นการศึกษาเพื่อจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒน าการมาเหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งสามารถใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ของชาติวงศ์วานและนามาจั ดเป็ นประวัติชาติพันธุ์ (phylogeny) ของสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ ได้ อนุกรมวิธาน (Taxonomy) จะทาการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต (Classification) โดยการจัดลาดับหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตเริ่มจัด เป็ นกลุ่มใหญ่ก่อน แล้วจึงแบ่งแยกออกเป็ นกลุ่มย่อย
  • 2. ๆอีกหลายระดับ โดยพิจารณาจาก กลุ่มใหญ่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ อาณาจักร(Kingdom) กลุ่มย่อยรองลงมา สาหรับสัตว์เรียกไฟลัม (Phylum) สาหรับพืชในอดีตเรียก ดิวิชัน (Division) ปัจจุบันใช้ไฟลัมเช่นเดียวกับสัตว์ ในดิวิชันหรือไฟลัมหนึ่ง ๆ แยกออกเป็ นคลาส หลายคลาส (Class) หรือชั้น ในแต่ละคลาสแยกออกเป็ นหลายออร์เดอร์ (Order) หรืออันดับแต่ละออร์เดอร์แยกออกเป็ นหลายแฟมิลี (Family) หรือวงศ์ ในแต่ละแฟมิลียังแยกออกเป็ นจีนัส (Genus) หรือสกุล แต่ละจีนัสแบ่งย่อยออกเป็ นหลายสปี ชีส์ (species) หรือชนิด อาณาจักร (Kingdom) ดิวิชัน (Division) หรือ ไฟลัม (Phylum) คลาสหรือชั้น (Class) ออร์เดอร์หรือ อันดับ (Order) แฟมิลี่หรือวงศ์ (Family) จีนัสหรือสกุล (Genus) สปี ชีส์หรือชนิด(species) ในระหว่างกลุ่ม อาจมีกลุ่มย่อยอีก เช่น Sub Kingdom, Sub division เป็ นต้น พืชแต่ละชนิด อาจมีลักษณะต่างกันเล็กน้อย เรียกว่า พันธุ์ สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในสปี ชีส์ เดียวกันต้องมีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกันทางบรรพบุรุษสามารถสืบพันธุ์กันได้ ลูกที่ได้จะต้องไม่เป็ นหมัน ตัวอย่างการจะเรียกมนุษย์สายพันธุ์ปัจจุบันโดยใช้หลักอนุกรมวิธาน จะเรียกได้ดังนี้ Kingdom Animalia Phylum Chordata Subphylum Vertebrate Class Mammalia Subclass Theria Order Primates Family Hominidae
  • 3. Genus Homo Species Homo sapiens ชื่อของสิ่งมีชีวิต
  • 4. ภาพ คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) (ที่มา http://www.il.mahidol.ac.th) ชื่อของสิ่งมีชีวิต โดยปกติแล้วการเรียกชื่อของสิ่งมีชีวิตมีดังนี้ คือ 1. ชื่อพื้นเมือง (Local name) เรียกตามท้องถิ่น 2. ชื่อสามัญ (common name) คือ ชื่อที่เรียกกันทั่ว ๆ ไป อาจเรียกตามลักษณะรูปร่าง ถิ่นกาเนิดหรือสถานที่อยู่ก็ได้เช่น ปากกาทะเล หอยมุก เป็ นต้น ซึ่งชื่อดังกล่าวอาจเรียกต่างกัน ในแต่ละที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดได้ 3. ชื่อวิทยาศาสตร์ (scientific name) คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) นักพฤกษศาสตร์ ชาวสวีเดน ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดา แห่งอนุกรมวิธาน เป็นคนกาหนดชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตโดยใช้ ระบบทวินาม (Binomail nomenclature) ประกอบด้วยสองส่วนหลัก และ อีกหนึ่งส่วนรอง คือ ส่วนแรกเป็ นส่วนของชื่อสกุล (generic name) ส่วนที่สองเป็ นชื่อที่ระบุสปี ชีส์ (Specific epithet) ทั้งสองส่วนต้องทาให้เป็ นคาในภาษาลาตินเสมอ ชื่อจีนัสตัวแรกเขียนด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ
  • 5. ตัวแรกของสปี ชีส์เป็ นชื่อตัวพิมพ์เล็กธรรมดา ต้องเขียนให้ต่างจากอักษรอื่นการพิมพ์หรือเขียนชื่อวิทยาศาสตร์จะต้ องขีดเส้นใต้หรือ พิมพ์หรือเขียนเป็ นตัวเอนไม่ต้องขีดเส้นใต้ทั้ง 2 ชื่อไม่ติดกัน หรืออาจมีส่วนที่สาม ก็คือชื่อผู้ตั้งหรือผู้คนพบสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น เรียกระบบนี้ว่า การตั้งชื่อแบบทวินาม (binomial nomenclature) ตัวอย่างเช่น ชื่อวิทยาศาสตร์ของถั่วลันเตา คือ Pisum sativum L. Genus คือ Pisum Species คือ sativum ผู้ตั้งชื่อ คือ L. ย่อมาจาก Linn. หรือ Carolus Linnaeus