รียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
- 1. โครงงานวิทยาศาสตร์
ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
• โครงงานวิทยาศาสตร์หมายถึง กิจกรรมใดๆที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่
นักเรี ยนเป็ นผูริเริ่ มและลงมือปฏิบติ ศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเองโดยอาศัย ทักษะ และ
้ ั
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปช่วยแสวงหาความรู ้ หรื อแก้ปัญหา
ความสาคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
• วิธีการแสวงหาความรู ้ในแนวลึก
• ต่อยอดความรู ้ให้เกิดขึ้น
• เสริ มสร้างองค์ความรู ้ผเู ้ รี ยนและสังคม
• สนองต่อชุมชน
จริยธรรมในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
• การใช้ประโยชน์จากผลงานผูอื่น
้
• ความซื่อตรงทางวิชาการ
• http://www.vcharkarn.com/project/
ความสาคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
• วิธีการแสวงหาความรู้ในแนวลึก
• ต่อยอดความรู ้ให้เกิดขึ้น
• เสริ มสร้างองค์ความรู้ผเู้ รี ยนและสังคม
• สนองต่อชุมชน
- 2. คุณค่ าของโครงงานวิทยาศาสตร์
• นักเรี ยนได้พฒนา และแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง และความสามารถพิเศษ
ั
• นักเรี ยนได้ศึกษาค้นคว้า และเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่ตนเองสนใจมากกว่าการเรี ยนรู ้ในห้องเรี ยน
• นักเรี ยนมีความสนใจในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ และประกอบอาชีพทางวิทยาศาสตร์ มากขึ้น
• ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างครู อาจารย์ กับนักเรี ยน และ โรงเรี ยน กับ
ชุมชน
ประเภทของโครงงานตามระดับความคิดนักเรียน
• Guided Project นักเรี ยนใช้ความคิดน้อย ครู ให้คาปรึ กษามาก ออกแบบการทดลอง เพื่อตอบปัญหา
นักเรี ยนรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปผล นาเสนอ ด้วยตนเอง
• Less-Guided Project ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกาหนดปั ญหา และวิธีรวบรวมข้อมูล เพื่อตอบปั ญหา
นักเรี ยนรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุ ปผล นาเสนอด้วยตนเอง
• Unguided Project ครู ให้คาปรึ กษาน้อย นักเรี ยน ทาด้วยตนเองทุกขั้นตอน
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
1. โครงงานประเภทสารวจ รวบรวมข้ อมูล
• หมายถึง การสารวจข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดจากความต้องการสารวจ รวบรวมข้อมูล มาจัดจาแนกเป็ น
หมวดหมู่ และนาเสนอในรู ปแบบต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็น ลักษณะ ความสัมพันธ์ กับเรื่ องที่ตองการ
้
ศึกษา เช่น การสารวจภาคสนาม และอาจจะนากลับมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบติการอีก หรื อ
ั
ทาการศึกษา ณ แหล่งสารวจ
2. โครงงานประเภทการทดลอง
• หมายถึง โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลองเป็ นโครงงานที่มีการออกแบบการทดลองเพื่อ
ศึกษาผลของตัวแปรอิสระ (ตัวแปรต้น) ที่มีผลต่อตัวแปรตาม โดยควบคุมตัวแปรอื่น ๆ (ตัวแปร
ควบคุม) ที่จะมีอิทธิ พลต่อผลการทดลอง
- 3. 3. โครงงานประเภทสิ่ งประดิษฐ์
• เป็ นโครงงานที่ประยุกต์หลักการหรื อทฤษฎีต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ มาประดิษฐ์เป็ นเครื่ องมือ
เครื่ องใช้หรื ออุปกรณ์ท่ีเป็ นประโยชน์ในการใช้สอย อาจคิดประดิษฐ์ของใหม่ ๆ หรื อปรับปรุ ง
่
ดัดแปลงของเดิมที่มีอยูแล้ว ให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น หรื อเป็ นแบบจาลอง
4. โครงงานประเภททฤษฏี
• เป็ นโครงงานที่เสนอทฤษฏี หลักการใหม่ ตามแนวคิดของตนเอง หรื อการอธิ บายแนวคิดใหม่ ๆ
่
ซึ่ งอาจอยูในรู ปของสู ตร สมการ คาอธิ บาย ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งอย่างมีเหตุผล เสนอ ในรู ปของ
ทฤษฎี หลักการ แนวคิด อาจเติมจินตนาการร่ วมด้วย
ขั้นตอนการทาโครงงาน
• กาหนดปั ญหา กาหนดหัวข้อเรื่ อง
• ตั้งสมมุติฐาน
• ออกแบบการทดลอง การศึกษาค้นคว้า
• ดาเนินการทดลอง ศึกษาค้นคว้า
• สรุ ปผล (เกิดปั ญหาใหม่ ขั้นตอนการศึกษาใหม่)
• นาเสนอผลงาน ประเมินผลงาน
• จัดนิทรรศการ ส่ งประกวด
ขั้นตอนการทาโครงงานประกอบด้ วย
• การคิดและเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงาน
• การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
• การจัดทาเค้าโครงของโครงงาน
- 4. • การดาเนินโครงงาน
• การเขียนรายงานโครงงาน
• การแสดงผลงานของโครงงาน
ทาโครงงานเรื่องอะไรดี
• หัวข้อโครงงาน ควรมาจากปั ญหา คาถาม ความอยากรู้อยากเห็นของนักเรี ยนเอง
หัวข้ อโครงงานมาจากไหน
• จุดประกาย จากการรับรู ้ รับฟัง ข้อมูลข่าวสาร
• การเยียมชมสถานที่ต่างๆ
่
• กิจกรรมการเรี ยนการสอนในโรงเรี ยน
• งานอดิเรก
• ต่อยอดจากโครงงานเดิมที่ทาไว้แล้ว
• การสนทนากับบุคคลต่างๆ
• การสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว
การพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้ อโครงงาน
• ความรู้ ทักษะ
• วัสดุ อุปกรณ์
• แหล่งเรี ยนรู ้
• เวลา
• อาจารย์ที่ปรึ กษา
- 5. • ความปลอดภัย
• งบประมาณ
• การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
• รวมไปถึงการรวบรวมข้อมูลในรู ปแบบอื่น เช่น การขอคาปรึ กษา การสารวจวัสดุอุปกรณ์ การ
สารวจเบื้องต้น
• รวบรวมข้อมูลอย่างเป็ นระบบ และจดบันทึกไว้เป็ นหลักฐาน ควรจัดแสดงสมุดบันทึกพร้อมการจัด
แสดงโครงงาน
• ช่วยในการตัดสิ นใจเลือกหัวข้อโครงงาน กาหนดขอบข่ายของเรื่ องที่จะศึกษาให้เฉพาะเจาะจง
• ช่วยให้สามารถออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานได้อย่างเหมาะสม
• ต้องศึกษาข้อมูล ก่อนเริ่ มทาโครงงาน
• โครงงานวิทยาศาสตร์
• โครงร่ างโครงงานวิทยาศาสตร์ (Proposal)
การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้ วยหัวข้ อต่ าง ๆ ดังนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผูจดทาโครงงาน
้ั
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน
4. บทคัดย่อ
5. กิตติกรรมประกาศ (คาขอบคุณ)
6. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
7. วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน
8. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
9. ขอบเขตของการทาโครงงาน
10.วิธีดาเนินการ
- 6. 11.ผลการศึกษาค้นคว้า
12. สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ
13. เอกสารอ้างอิง
ขั้นตอนการทาโครงงาน
กลยุทธ์ …การทาโครงงานให้ สัมฤทธิ์ผล
1. กาหนดปั ญหา
2. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. ตั้งสมมติฐาน
4. ออกแบบการทดลอง
5. ทาการทดลองและบันทึกผล
6. วิเคราะห์และสรุ ปผลการทดลอง
7.เผยแพร่ ผกาหนดปัญหา
ขั้นที่ 1 ลงาน
สาคัญมาก เพราะ เป็ นจุดเริ่ มต้น ของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
่
กลยุทธ์ ไม่มองไกลเลิศเลอถึงขั้นเพ้อฝัน แค่อยูในชีวตประจาวันและใกล้ตว
ิ ั
มอง = สังเกต (อย่างลึกซึ้ ง) และ สงสัย
- 8. ขั้นที่ 2 ศึกษาข้ อมูลทีเ่ กียวข้ อง
่
รู ้เขารู ้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง
กลยุทธ์ ตีโจทย์ให้ แตก แยกคาสาคัญ
ข้ อมูลทีเ่ กี่ยวข้ อง
- ปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพลูด่าง
สาคัญมาก เพราะ เป็ นจุดเริ่ มต้น ของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
- เทคนิคการวัด
- พันธุ์ของพลูด่าง
ขั้นที่ 3 ตั้งสมมติฐาน
ตั้งสมมติฐาน : คาดเดาคาตอบ ตีกรอบสิ่ งที่จะศึกษา
คาถามวิจัย : ทีระดับความสู งต่ างกัน ใบพลูด่างมีขนาดต่ างกันหรือไม่
่
สมติฐาน : ทีระดับความสู งต่ างกัน ใบพลูด่างจะมีขนาดต่ างกัน
่
ขั้นที่ 4 ออกแบบการทดลอง
• กลยุทธ์ ออกแบบอย่างมีระบบ
• ระบุตัวแปร แฉ....ความสั มพันธ์
ถ้ าเปลียน ตัวแปรต้ น
่
แล้วจะเกิดอะไรขึนกับ ตัวแปรตาม
้
ต้ องควบคุมสิ่ งอื่นให้ เหมือนกัน
- 9. คาถามวิจัย : ทีระดับความสู งต่ างกัน ใบพลูด่างมีขนาดต่ างกันหรือไม่
่
ตัวแปรต้ น: ระดับความสู ง
ตัวแปรตาม: ขนาดของใบ
ควบคุม: วิธีการวัดขนาดของใบ
บริเวณทีศึกษาต้ นพลูด่าง
่
ความสมบูรณ์ ของใบ
ตารางบันทึกผล
ขนาดของใบไม้
ระดับความสู ง
เส้นขอบใบไม้ เส้นกลางใบไม้
เพิ่มระดับความสูง นิยามขนาดให้ ชดเจน
ั
ที่จะวัด จานวนใบที่จะวัด
- 12. ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ และสรุ ปผล
กลยุทธ์ ต้ องซื่อสั ตย์ : ยึดผลการทดลองเป็ นหลัก
อย่า เปลียนผลการทดลองเพือให้ สอดคล้องกับสมมติฐาน
่ ่
นาเสนอแบบกราฟ
ไม่ ทาลายตัวอย่ าง
ไม่ สรุ ปเกินกว่ าที่ทดลอง
ขั้นที่ 7 เผยแพร่ ผลงาน
แลกเปลียนเรียนรู้
่
แหล่งเผยแพร่
- วารสารวิชาการ
- งานประชุมวิชาการ เช่ น วทร. วทท.
- การประกวดโครงงาน
- 13. ตัวอย่ างแผงแสดงโครงงาน
อาจารย์ อัครสิ ทธิ์ บุญส่งแท้
อาจารย์ ดร.กฤษฎา บุญชม
ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.อโนดาษ์ รัชเวทย์
้
( เอกสารประกอบคาบรรยายการอบรมครู สอนไม่ตรงวุฒิ )