ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ถ         อดบทเรียน บ้านจ๊างนั                      ก
                                                                                    บ้ านจ๊ างนัก
                                                                          บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้าง

                                                                           อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่




ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลกหา ช่างแกะสลักฝี มือดีและมีความรัก
                                                                                  ู
ในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา

เมื่อปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา
เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย
   ่                                                                  ้




บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะซ้ ากัน มาเป็ น
การแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่งนับเป็ นแห่งแรกที่มีการแกะสลักช้าง รู ปแบบนี้

บ้านจ๊างนักยังเป็ นแห่งแรกที่มีการทดลองนาวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นบวันมีแต่จะหายากมากขึ้น
                                                                                           ั
เช่น มีการนาเอาไม้ข้ ีเหล็กมาทดแทนไม้สก ซึ่งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ข้ ีเหล็ก
                                      ั
ในสมัยก่อน คือนามาทาเป็ นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนามาแกะสลักพบว่า ไม้ข้ ีเหล็กเป็ นไม้เนื้อแข็งมากการแกะ
ค่อน ข้างยากกว่าไม้สก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็ นธรรมชาติ
                    ั

เมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็ นหนึ่งในพิพธภัณฑ์ทองถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็ นที่รู้จก กันอย่าง
                                                              ิ      ้                                       ั
แพร่ หลายในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้
                ั

นอกจากนี้ หนึ่งในความภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็ นส่วนหนึ่งของการทาให้ผคน ได้เกิดความรัก หวง
                                                                                         ู้
แหน และ ตระหนักถึงความสาคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบน และร่ วมกันอนุรักษ์ชางไทยให้อยูค่กบคนไทยอีกนาน
                                                       ั                     ้          ู่ ั
เท่านาน
สล่ า เพชร วิริยะ          เพชรน้าเอกแห่ งแดนล้ านนา
ศิลปิ นดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543

สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม



ประวัติ

สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498

สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่

เป็ นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่นอง 5 คน
                                                        ้

การศึกษา

ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ยนผูใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่
                                      ้

การศึกษาผูใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรี ยนผูใหญ่สนกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
          ้                                   ้    ั
ผลงานที่ผ่านมา

พ.ศ. 2515-2519 เรี ยนแกะสลักไม้กบครู อาย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้าน
                                ั     ้

พ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็ นวิทยากรฝึ กอบรมอาชีพแกะสลักไม้ประจากรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม กรุ งเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมา
ทางานที่บาน
         ้

พ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็ นผลงานแกสะลักช้างได้หลายรู ปแบบ กลายเป็ นช่างฝี มือและประกอบ
อาชีพแกะสลักไม้จนถึงปัจจุบน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บาน
                          ั                          ้
แนวความคิด ภาคภูมิใจอ่างยิงที่ได้ทางานที่รักและชอบ ถือเป็ นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครู คาอ้าย เดช
                          ่
ดวงตา แล้วพัฒนาฝี มือและรู ปแบงานและได้ถ่ายทอดสังสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยูยนยาวต่อไป และช้าง คือความ
                                                ่                             ่ื
ยิงใหญ่ในตานาน เรื่ องราว รู ปแบบและตัวตน
  ่
ร่ วมแสดงงานศิลปะกับศิลปิ นกลุ่มลานนามาตลอด

ปี 2535 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๑ ที่จงหวัดภูเก็ต
                                                                      ั

ปี 2536 ร่ วมแสดงงานมหกรรมประติมากรรม 93 ร้อยปี ศาสตราจารย์ ศิลป์

พีระศรี ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้ าฯ กรุ งเทพฯ

ปี 2537 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๒

ณ ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลเทพธาริ นทร์ กรุ งเทพฯ

ปี 2541 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๓

ณ ศูนย์การค้าโอเรี ยนเตลเพลส กรุ งเทพฯ

ปี 2542 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๔

ณ โรงแรมรอยัลการ์เด้นรี สอร์ทพัทยา จังหวัดชลบุรี

ปี 2542 ร่ วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปิ นภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มหามงคลเฉลิมพระ
                                                                                  ่ ั
ชนมพรรษา 6 รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปี 2543 ร่ วมแสดงนิทรรศการ ศิลปกรรมของศิลปิ นล้านนา “จิตวิญญาณล้านนา ๗ คนเมือง”

ปี 2543 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มองโล่เชิดชูเกียรติ เป็ นศิลปิ นดีเด่น จังหวัด
เชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป์ ประจาปี 2543

ปี 2545 ร่ วมแสดงนิทรรศการ “ต๋ ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๑” ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปี 2545 นาทีมงานสล่า “บ้านจ๊างนัก” จัดนิทรรศการงานแกะสลักไม้ชุดคชธาตุ 4 ดิน น้ า ลม ไฟ ณMotion Hall ชั้น G ดิเอ็ม
โพเรี ยม ช็อปปิ้ ง คอมเพล็กซ์ กรุ งเทพฯ

ปี 2546 ร่ วมแสดงงานนิทรรศการ “ต๊ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๒” ณ

หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บ้ านเหมืองกุง
บ้านเหมืองกุงเป็ นหมู่บานเล็ก ๆ ที่ได้รับเลือกจากพัฒนาชุมชน
                       ้

และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็ นหมู่บานโอท็อป
                                           ้

เพื่อการท่องเที่ยวเพราะเป็ นหมู่บานผลิตเครื่ องปั้นดินเผาที่มีเรื่ องราว
                                 ้

ประวัติศาสตร์ วิถีวฒนธรรม
                   ั

โคมไฟดินเผาฉลุ
(ร้านป้ าเล็ก) ราคา 450 บาท

การนาไปใช้ ในงานภูมทัศน์
                   ิ

- ใช้ในการปะดับตกแต่งสวน               - ใช้ประดับบริ เวณทางเดินใสวน        -ประดับตกแต่งบริ เวณมุมห้องเพื่อความสวยงาม

ขั้นตอนการทา

1. นาดินเหนียวมากองไว้เตรี ยมใช้งานเรี ยกว่า กองดิน

2. ซอยดินเหนียว แล้วนาไปพรมน้ าหมักค้างคืน โดยใช้ใบตองแห้งคลุมให้ดินชุ่มน้ าพอเหมาะ

3. ปั้นดินที่หมักเป็ นก้อนๆ ยาวประมาณ 1 ศอกนาไปวางไว้ในลานวงกลม

4. นาดินที่นวดแล้วมาตั้งเป็ นกองใหญ่ แล้วเหยียบให้เป็ นกองแล้วนาผ้ามาคลุมดินไว้เพื่อรอการนาดินมาใช้ในการปั้นต่อไป

5. นาดินมาปั้นเป็ นแท่งกลมยาวเพื่อขึ้นรู ป โดยขึ้นรู ปบนแป้ นหมุน เรี ยกว่า ก่อพิมพ์ เป็ นการปั้นครึ่ งล่างของภาชนะที่ป้ ัน

6. นาครึ่ งล่างที่ป้ ันเสร็ จแล้วไปผึ่งให้หมาดๆ แล้วนามาปั้นต่อให้เสร็ จตามรู ปแบบที่ตองการ
                                                                                      ้

7. นามาผึ่งให้หมาดๆ แล้วนาไปขัดผิวให้เรี ยบโดยใช้ลกสะบ้าขัด ทาให้ผวเรี ยบและมันแล้วนาไปตากให้แห้ง
                                                  ู               ิ

8. ในการเผาจะใช้เวลาประมาณ 2 คืน 3 วัน และต้องคอยใช้ฟืนในเตาเผาตลอดทั้งวันทั้งคืนเพื่อให้ได้ความร้อนสม่าเสมอและ
ทาให้ดินสุกได้ทวถึง
               ั่

9. เมื่อเผาได้ตามที่กาหนดเวลาต้องงดใส่ไฟ แล้วปล่อยทิ้งไว้ในเตาเผา 2 คืน โดยค่อยๆ เปิ ดช่องว่างเพื่อค่อยๆระบายความ
ร้อนเรี ยกว่า แย้มเตา
บ้ านถวาย
บ้านถวายเป็ นศูนย์การค้าและการท่องเที่ยวที่มีการส่งเสริ ม

กิจการศิลปหัตถกรรมไทย ซึ่งสะท้อนถึงภูมิปัญญา

และวิถีชาวบ้านที่มีมาช้านานให้ทวโลกได้รับรู้
                               ั่

และชื่นชมถึงความอลังการณ์ของงานไม้ และความมีเสน่ห์

แห่งวิถีชีวิตช่างแกะสลักกับความภาคภูมิใจในมรดกไทย

ม้ านั่งไม้ สัก
(ร้านจารึ กไอเดีย) ราคา 1500 บาท

การนาไปใช้ ในงานภูมทัศน์
                   ิ

-ใช้ประดับตกแต่งสวน

-ใช้เป็ นที่ผกผ่อนในสวน
             ั

-เป็ นวัสดุที่กลมกลืนกับธรรมชาติ




                                                            นางสาว ปวิชญา ศรี จนทร์
                                                                               ั

                                                              รหัส 5219101313

                                                             สาขาเทคโนโลยีภูมิทศน์
                                                                               ั

More Related Content

ถอึϸทเรีย..

  • 1. อดบทเรียน บ้านจ๊างนั ก บ้ านจ๊ างนัก บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดย สล่าเพชร วิริยะซึ่งได้รวบรวมเพื่อนฝูง ตลอดจนลูกศิษย์ลกหา ช่างแกะสลักฝี มือดีและมีความรัก ู ในศิลปะการแกะสลัก ไม้แบบล้านนามารวมตัวกันจัดตั้ง กลุ่มแกะสลักขึ้นมา เมื่อปี พ.ศ.2531 คุณลุงประยูร จรรยาวงศ์ (2458) คอลัมน์นิสต์ชื่อดังแห่งหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐในขณะ นั้น ได้ให้เกียรติ มา เยียม เยือน พร้อมกับตั้งชื่อบ้านว่า “บ้านจ๊างนัก” อันหมายถึงบ้านที่มีชาง เยอะแยะมากมาย ่ ้ บ้านจ๊างนัก ได้มีการพัฒนารู ปแบบการแกะสลักช้าง จากเดิมที่ช่างแกะจะมีการแกะสลักแบบ ตายตัว รู ปแบบจะซ้ ากัน มาเป็ น การแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงทานองที่เหมือน ช้างจริ ง ๆ ซึ่งนับเป็ นแห่งแรกที่มีการแกะสลักช้าง รู ปแบบนี้ บ้านจ๊างนักยังเป็ นแห่งแรกที่มีการทดลองนาวัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิม ที่นบวันมีแต่จะหายากมากขึ้น ั เช่น มีการนาเอาไม้ข้ ีเหล็กมาทดแทนไม้สก ซึ่งประโยชน์เพียงอย่างเดียวของไม้ข้ ีเหล็ก ั
  • 2. ในสมัยก่อน คือนามาทาเป็ นเชื้อเพลิงเท่านั้น และผลที่ได้จากการนามาแกะสลักพบว่า ไม้ข้ ีเหล็กเป็ นไม้เนื้อแข็งมากการแกะ ค่อน ข้างยากกว่าไม้สก แต่ผลงานที่ออกมาจะสวยงาม และสีเป็ นธรรมชาติ ั เมื่อปี พ.ศ. 2546 บ้านจ๊างนัก ได้รับการบรรจุให้เป็ นหนึ่งในพิพธภัณฑ์ทองถิ่น สังกัด เอกชน ยังผลให้เป็ นที่รู้จก กันอย่าง ิ ้ ั แพร่ หลายในหมู่นกท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ ที่มีความสนใจในศิลปะแขนงนี้ ั นอกจากนี้ หนึ่งในความภาคภูมิใจของสล่าบ้านจ๊างนักทุกคนคือ การที่เป็ นส่วนหนึ่งของการทาให้ผคน ได้เกิดความรัก หวง ู้ แหน และ ตระหนักถึงความสาคัญ และปัญหาของ ช้างไทยในปัจจุบน และร่ วมกันอนุรักษ์ชางไทยให้อยูค่กบคนไทยอีกนาน ั ้ ู่ ั เท่านาน
  • 3. สล่ า เพชร วิริยะ เพชรน้าเอกแห่ งแดนล้ านนา ศิลปิ นดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจาปี 2543 สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม ประวัติ สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่นอง 5 คน ้ การศึกษา ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 จากโรงเรี ยนผูใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่ ้ การศึกษาผูใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรี ยนผูใหญ่สนกาแพง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ้ ้ ั
  • 4. ผลงานที่ผ่านมา พ.ศ. 2515-2519 เรี ยนแกะสลักไม้กบครู อาย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้าน ั ้ พ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็ นวิทยากรฝึ กอบรมอาชีพแกะสลักไม้ประจากรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม กรุ งเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมา ทางานที่บาน ้ พ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่ องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็ นผลงานแกสะลักช้างได้หลายรู ปแบบ กลายเป็ นช่างฝี มือและประกอบ อาชีพแกะสลักไม้จนถึงปัจจุบน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บาน ั ้ แนวความคิด ภาคภูมิใจอ่างยิงที่ได้ทางานที่รักและชอบ ถือเป็ นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครู คาอ้าย เดช ่ ดวงตา แล้วพัฒนาฝี มือและรู ปแบงานและได้ถ่ายทอดสังสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยูยนยาวต่อไป และช้าง คือความ ่ ่ื ยิงใหญ่ในตานาน เรื่ องราว รู ปแบบและตัวตน ่
  • 5. ร่ วมแสดงงานศิลปะกับศิลปิ นกลุ่มลานนามาตลอด ปี 2535 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๑ ที่จงหวัดภูเก็ต ั ปี 2536 ร่ วมแสดงงานมหกรรมประติมากรรม 93 ร้อยปี ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้ าฯ กรุ งเทพฯ ปี 2537 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๒ ณ ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลเทพธาริ นทร์ กรุ งเทพฯ ปี 2541 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๓ ณ ศูนย์การค้าโอเรี ยนเตลเพลส กรุ งเทพฯ ปี 2542 นาทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างนัก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๔ ณ โรงแรมรอยัลการ์เด้นรี สอร์ทพัทยา จังหวัดชลบุรี ปี 2542 ร่ วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปิ นภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มหามงคลเฉลิมพระ ่ ั ชนมพรรษา 6 รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2543 ร่ วมแสดงนิทรรศการ ศิลปกรรมของศิลปิ นล้านนา “จิตวิญญาณล้านนา ๗ คนเมือง” ปี 2543 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มองโล่เชิดชูเกียรติ เป็ นศิลปิ นดีเด่น จังหวัด เชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป์ ประจาปี 2543 ปี 2545 ร่ วมแสดงนิทรรศการ “ต๋ ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๑” ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2545 นาทีมงานสล่า “บ้านจ๊างนัก” จัดนิทรรศการงานแกะสลักไม้ชุดคชธาตุ 4 ดิน น้ า ลม ไฟ ณMotion Hall ชั้น G ดิเอ็ม โพเรี ยม ช็อปปิ้ ง คอมเพล็กซ์ กรุ งเทพฯ ปี 2546 ร่ วมแสดงงานนิทรรศการ “ต๊ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๒” ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 6. บ้ านเหมืองกุง บ้านเหมืองกุงเป็ นหมู่บานเล็ก ๆ ที่ได้รับเลือกจากพัฒนาชุมชน ้ และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ให้เป็ นหมู่บานโอท็อป ้ เพื่อการท่องเที่ยวเพราะเป็ นหมู่บานผลิตเครื่ องปั้นดินเผาที่มีเรื่ องราว ้ ประวัติศาสตร์ วิถีวฒนธรรม ั โคมไฟดินเผาฉลุ (ร้านป้ าเล็ก) ราคา 450 บาท การนาไปใช้ ในงานภูมทัศน์ ิ - ใช้ในการปะดับตกแต่งสวน - ใช้ประดับบริ เวณทางเดินใสวน -ประดับตกแต่งบริ เวณมุมห้องเพื่อความสวยงาม ขั้นตอนการทา 1. นาดินเหนียวมากองไว้เตรี ยมใช้งานเรี ยกว่า กองดิน 2. ซอยดินเหนียว แล้วนาไปพรมน้ าหมักค้างคืน โดยใช้ใบตองแห้งคลุมให้ดินชุ่มน้ าพอเหมาะ 3. ปั้นดินที่หมักเป็ นก้อนๆ ยาวประมาณ 1 ศอกนาไปวางไว้ในลานวงกลม 4. นาดินที่นวดแล้วมาตั้งเป็ นกองใหญ่ แล้วเหยียบให้เป็ นกองแล้วนาผ้ามาคลุมดินไว้เพื่อรอการนาดินมาใช้ในการปั้นต่อไป 5. นาดินมาปั้นเป็ นแท่งกลมยาวเพื่อขึ้นรู ป โดยขึ้นรู ปบนแป้ นหมุน เรี ยกว่า ก่อพิมพ์ เป็ นการปั้นครึ่ งล่างของภาชนะที่ป้ ัน 6. นาครึ่ งล่างที่ป้ ันเสร็ จแล้วไปผึ่งให้หมาดๆ แล้วนามาปั้นต่อให้เสร็ จตามรู ปแบบที่ตองการ ้ 7. นามาผึ่งให้หมาดๆ แล้วนาไปขัดผิวให้เรี ยบโดยใช้ลกสะบ้าขัด ทาให้ผวเรี ยบและมันแล้วนาไปตากให้แห้ง ู ิ 8. ในการเผาจะใช้เวลาประมาณ 2 คืน 3 วัน และต้องคอยใช้ฟืนในเตาเผาตลอดทั้งวันทั้งคืนเพื่อให้ได้ความร้อนสม่าเสมอและ ทาให้ดินสุกได้ทวถึง ั่ 9. เมื่อเผาได้ตามที่กาหนดเวลาต้องงดใส่ไฟ แล้วปล่อยทิ้งไว้ในเตาเผา 2 คืน โดยค่อยๆ เปิ ดช่องว่างเพื่อค่อยๆระบายความ ร้อนเรี ยกว่า แย้มเตา
  • 7. บ้ านถวาย บ้านถวายเป็ นศูนย์การค้าและการท่องเที่ยวที่มีการส่งเสริ ม กิจการศิลปหัตถกรรมไทย ซึ่งสะท้อนถึงภูมิปัญญา และวิถีชาวบ้านที่มีมาช้านานให้ทวโลกได้รับรู้ ั่ และชื่นชมถึงความอลังการณ์ของงานไม้ และความมีเสน่ห์ แห่งวิถีชีวิตช่างแกะสลักกับความภาคภูมิใจในมรดกไทย ม้ านั่งไม้ สัก (ร้านจารึ กไอเดีย) ราคา 1500 บาท การนาไปใช้ ในงานภูมทัศน์ ิ -ใช้ประดับตกแต่งสวน -ใช้เป็ นที่ผกผ่อนในสวน ั -เป็ นวัสดุที่กลมกลืนกับธรรมชาติ นางสาว ปวิชญา ศรี จนทร์ ั รหัส 5219101313 สาขาเทคโนโลยีภูมิทศน์ ั