ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการ๶รียนรู้   โดย นางสาวพนิดา ธงชัยธนากุล 521121039 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์
ทฤษฎีการ๶รียนรู้   ทฤษฎีการ๶รียนรู้  คือ  การศึกษาถึงกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากพฤติกรรมเดิมไปเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร เป็นผลที่ได้จากประสบการณ์ โดยไม่ใช่ผลจากการตอบสนอง ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ การแบ่งกลุ่มทฤษฎีการ๶รียนรู้ แบ่งออกเป็น  3  กลุ่ม  ได้แก่ 1.  ทฤษฎีเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง   1.1  ทฤษฎีการ๶รียนรู้ต่อเนื่องของธรอนไดค์ “ การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูก” “ การเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง” การทดลอง  =  แมวกับประตูกล
1.2  ทฤษฎีการเชื่อมโยงของกัทธรี “ การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ” “ การเรียนรู้ควรเกิดจากการจูงใจมากกว่าการเสริมแรง” การทดลอง  =  แมวกับกล่อง 1.3  ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของฮัลล์ “ การเรียนรู้เกิดจากการเสริมแรงมากกว่าการจูงใจ ซึ่งได้แก่ การเสริมแรงทางร่างกายและจิตใจ” การทดลอง  =  หนูกดคาน  5  ครั้ง  - 90  ครั้ง
2.   ทฤษฎีการวางเงื่อนไข   2.1  ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟกับวัตสัน พาฟลอฟ  “การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข” การทดลอง  =  กระดิ่ง ,  สุนัข ,  ผงเนื้อ วัตสัน  “การเกิดอารมณ์จากการวางเงื่อนไข” การทดลอง  =  เด็ก ,  ของเล่น ,  เสียงดัง 2.2  ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ สกินเนอร์ “การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้มีการกระทำแล้วได้รับการเสริมแรง” การทดลอง  =  หนูขาวกับกล่อง
3.  ทฤษฎีสนามหรือกลุ่มเกสตัลท์  ( Gestalt)   ทฤษฎีสนามหรือกลุ่มเกสตัลท์  (Gestalt)  หมายถึง ส่วนรวม แนวคิดของทฤษฎี “ส่วนรวมมีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนย่อย” 3.1  ทฤษฎีสนาม โคห์เลอร์และเลวิน “การเรียนรู้จะพิจารณาสิ่งเร้าโดยส่วนรวมก่อนแล้วจะแยกเป็นส่วนย่อยเพื่อหาความสัมพันธ์จนในที่สุดเห็นช่องทางทำให้เกิดการหยั่งเห็น” การทดลอง  =  ลิงชิมแปนซี 3.2  ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของเลวิน “ การเรียนรู้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากความรู้เดิม ๆ  โดยการจูงใจทำให้เกิดความรู้อย่างแจ่มแจ้ง” การทดลอง  =  เหมือนกับโคห์เลอร์
3.3  ทฤษฎีการ๶รียนรู้เครื่องหมายของทอลแมน “ การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยใช้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์นำไปสู่เป้าหมายทำให้เกิดการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ” การทดลอง  =  หนู  3  กลุ่ม ในเขาวงกต 1.  ทอลแมนเห็นว่า การเสริมแรงหรือรางวัลนั้นไม่มีความจำเป็น  2.  การเสริมแรงทั้งทางบวกและทางลบต่างก็มีผลต่อการเรียนรู้แต่ 3.  ไม่จำเป็นเสมอไปที่จะต้องให้รางวัลผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 4.  ประสบการณ์ที่สร้างความพอใจและไม่พึงพอใจเป็นตัวเร่งให้ 5.  เกิดการเรียนรู้เปรียบเสมือนรางวัลและลงโทษในตัวมันเอง
การนำทฤษฎีการ๶รียนรู้ไปใช้ในการเรียนการสอน   ทฤษฎีการ๶รียนรู้แบบต่อเนื่องของธรอนไดค์ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน   1.  ครูจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมกระตุ้นให้นักเรียนพร้อมที่จะเรียน   2.  มอบหมายงาน กิจกรรม แบบฝึกหัด และการบ้าน เพื่อฝึกให้คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น   3.  ใช้หลักการให้รางวัลและการลงโทษ เพื่อให้รู้ว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของกัทธรี ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1.  ครูต้องจูงใจให้นักเรียนสนใจที่จะเรียน   2.  ดำเนินการสอนตามเนื้อหาสาระเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 3.  ฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยการกระทำ  4.  ก่อนจบบทเรียนควรให้นักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียนให้ถูกต้อง
ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของฮัลล์ ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน   1.  พยายามจัดการศึกษา โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้เรียน   2.  พยายามเสริมแรงทุกขั้นตอน   3.  จัดการเรียนการสอนจากง่ายไปหายาก   4.  จัดคาบเวลาเรียนให้พอเหมาะแก่วัยของผู้เรียน   5.  เปลี่ยนกิจกรรมการสอน เมื่อพบว่าผู้เรียนอ่อนล้าหรือง่วงนอน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟและวัตสัน ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน   1.  ครูสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียน อันเป็นการวางเงื่อนไขที่ดี 2.  ครูวางตัวให้เด็กศรัทธาและรัก เพื่อเด็กจะได้รักวิชาที่ครูสอน 3.  ครูจัดบทเรียนให้น่าสนใจและเกิดความสนุกสนาน 4.  ครูไม่ให้ความสนใจในพฤติกรรมที่ไม่ดีของเด็ก ในที่สุดพฤติกรรมดังกล่าวจะหายไป 5.  ครูจัดบทเรียนให้สัมพันธ์กับบทเรียนที่นักเรียนได้เรียนรู้แล้ว 6.  ครูให้นักเรียนได้ทบทวนบทเรียนที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว จะได้เรียนรู้เหมือนเดิม 7.  ครูให้นักเรียนรู้จักวิธีการจำแนกหรือวิเคราะห์ 8.  ครูใช้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกมาใช้ในการเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาต่าง ๆ เช่น นักเรียนไม่ชอบภาษาอังกฤษ แต่ชอบเกม  ให้นักเรียนได้เล่นเกมในวิชาภาษาอังกฤษ ต่อมานักเรียนชอบวิชาภาษาอังกฤษเพราะได้เล่นเกม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์ ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1.  สร้างนิสัยที่ดีให้เด็ก เพื่อการสร้างคุณภาพแห่งชีวิต 2.  ลบนิสัยที่ไม่ดีออกจากตัวเด็ก โดยวิธีการปรับพฤติกรรม 3.  ให้การเสริมแรงแก่เด็กที่กระทำความดี 4.  นำมาใช้สร้างบทเรียนสำเร็จรูป 5.  นำมาใช้ในการสอนวิธีการพูดเป็นการให้แรงเสริมในการฝึกพูด
ทฤษฎีสȨมྺองกลุ่มเกสตัลท์ใȨารȨไปใช้ใȨาร๶รียนการสอน   1.  ครูชี้ให้เห็นวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายของบทเรียน 2.  อธิบายให้นักเรียนเห็นภาพรวม ๆ  หรือโครงสร้างของบทเรียนก่อนสอน 3.  แนะนำกิจกรรมที่นักเรียนควรฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจ 4.  สอนให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตนเองเพื่อนำไปสู่การคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น
ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของเลวิน ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1.  ครูใช้วิธีกลุ่มสัมพันธ์กับผู้เรียน จะได้เกิดการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ 2.  ครูมุ่งเน้นการสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 3.  ให้นักเรียนตั้งเป้าหมายในชีวิต เป้าหมายในแต่ละวิชา แต่ละบทเรียน 4.  ใช้วิธีการจูงใจเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนตอบสนองต่อบทเรียน 5.  ฝึกให้นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาในเกมง่าย ๆ และยากขึ้นตามลำดับ
ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของทอลแมน ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน   1.  จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด เปิดโอกาสให้พูด และแสดงความคิดเห็น   2.  จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ  มอบงานหรือกิจกรรมให้ทุกกลุ่ม ให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน เพื่อส่งเสริมการคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น 3.  ให้นักเรียนอภิปรายในชั้นเรียน หรือใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพื่อให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับครูกับเพื่อน ๆ เพื่อให้เข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น

More Related Content

ทฤษฎีการ๶รียนรู้

  • 1. ทฤษฎีการ๶รียนรู้ โดย นางสาวพนิดา ธงชัยธนากุล 521121039 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์
  • 2. ทฤษฎีการ๶รียนรู้ ทฤษฎีการ๶รียนรู้ คือ การศึกษาถึงกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากพฤติกรรมเดิมไปเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร เป็นผลที่ได้จากประสบการณ์ โดยไม่ใช่ผลจากการตอบสนอง ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ การแบ่งกลุ่มทฤษฎีการ๶รียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. ทฤษฎีเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง 1.1 ทฤษฎีการ๶รียนรู้ต่อเนื่องของธรอนไดค์ “ การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูก” “ การเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง” การทดลอง = แมวกับประตูกล
  • 3. 1.2 ทฤษฎีการเชื่อมโยงของกัทธรี “ การเรียนรู้เกิดจากการกระทำ” “ การเรียนรู้ควรเกิดจากการจูงใจมากกว่าการเสริมแรง” การทดลอง = แมวกับกล่อง 1.3 ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของฮัลล์ “ การเรียนรู้เกิดจากการเสริมแรงมากกว่าการจูงใจ ซึ่งได้แก่ การเสริมแรงทางร่างกายและจิตใจ” การทดลอง = หนูกดคาน 5 ครั้ง - 90 ครั้ง
  • 4. 2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข 2.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟกับวัตสัน พาฟลอฟ “การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข” การทดลอง = กระดิ่ง , สุนัข , ผงเนื้อ วัตสัน “การเกิดอารมณ์จากการวางเงื่อนไข” การทดลอง = เด็ก , ของเล่น , เสียงดัง 2.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ สกินเนอร์ “การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลได้มีการกระทำแล้วได้รับการเสริมแรง” การทดลอง = หนูขาวกับกล่อง
  • 5. 3. ทฤษฎีสนามหรือกลุ่มเกสตัลท์ ( Gestalt) ทฤษฎีสนามหรือกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt) หมายถึง ส่วนรวม แนวคิดของทฤษฎี “ส่วนรวมมีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนย่อย” 3.1 ทฤษฎีสนาม โคห์เลอร์และเลวิน “การเรียนรู้จะพิจารณาสิ่งเร้าโดยส่วนรวมก่อนแล้วจะแยกเป็นส่วนย่อยเพื่อหาความสัมพันธ์จนในที่สุดเห็นช่องทางทำให้เกิดการหยั่งเห็น” การทดลอง = ลิงชิมแปนซี 3.2 ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของเลวิน “ การเรียนรู้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากความรู้เดิม ๆ โดยการจูงใจทำให้เกิดความรู้อย่างแจ่มแจ้ง” การทดลอง = เหมือนกับโคห์เลอร์
  • 6. 3.3 ทฤษฎีการ๶รียนรู้เครื่องหมายของทอลแมน “ การเรียนรู้เกิดจากการที่บุคคลตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยใช้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์นำไปสู่เป้าหมายทำให้เกิดการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ” การทดลอง = หนู 3 กลุ่ม ในเขาวงกต 1. ทอลแมนเห็นว่า การเสริมแรงหรือรางวัลนั้นไม่มีความจำเป็น 2. การเสริมแรงทั้งทางบวกและทางลบต่างก็มีผลต่อการเรียนรู้แต่ 3. ไม่จำเป็นเสมอไปที่จะต้องให้รางวัลผู้เรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 4. ประสบการณ์ที่สร้างความพอใจและไม่พึงพอใจเป็นตัวเร่งให้ 5. เกิดการเรียนรู้เปรียบเสมือนรางวัลและลงโทษในตัวมันเอง
  • 7. การนำทฤษฎีการ๶รียนรู้ไปใช้ในการเรียนการสอน ทฤษฎีการ๶รียนรู้แบบต่อเนื่องของธรอนไดค์ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. ครูจะต้องเตรียมตัวให้พร้อมกระตุ้นให้นักเรียนพร้อมที่จะเรียน 2. มอบหมายงาน กิจกรรม แบบฝึกหัด และการบ้าน เพื่อฝึกให้คิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น 3. ใช้หลักการให้รางวัลและการลงโทษ เพื่อให้รู้ว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
  • 8. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของกัทธรี ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. ครูต้องจูงใจให้นักเรียนสนใจที่จะเรียน 2. ดำเนินการสอนตามเนื้อหาสาระเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 3. ฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยการกระทำ 4. ก่อนจบบทเรียนควรให้นักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียนให้ถูกต้อง
  • 9. ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของฮัลล์ ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. พยายามจัดการศึกษา โดยคำนึงถึงความต้องการของผู้เรียน 2. พยายามเสริมแรงทุกขั้นตอน 3. จัดการเรียนการสอนจากง่ายไปหายาก 4. จัดคาบเวลาเรียนให้พอเหมาะแก่วัยของผู้เรียน 5. เปลี่ยนกิจกรรมการสอน เมื่อพบว่าผู้เรียนอ่อนล้าหรือง่วงนอน
  • 10. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟและวัตสัน ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. ครูสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียน อันเป็นการวางเงื่อนไขที่ดี 2. ครูวางตัวให้เด็กศรัทธาและรัก เพื่อเด็กจะได้รักวิชาที่ครูสอน 3. ครูจัดบทเรียนให้น่าสนใจและเกิดความสนุกสนาน 4. ครูไม่ให้ความสนใจในพฤติกรรมที่ไม่ดีของเด็ก ในที่สุดพฤติกรรมดังกล่าวจะหายไป 5. ครูจัดบทเรียนให้สัมพันธ์กับบทเรียนที่นักเรียนได้เรียนรู้แล้ว 6. ครูให้นักเรียนได้ทบทวนบทเรียนที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว จะได้เรียนรู้เหมือนเดิม 7. ครูให้นักเรียนรู้จักวิธีการจำแนกหรือวิเคราะห์ 8. ครูใช้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกมาใช้ในการเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาต่าง ๆ เช่น นักเรียนไม่ชอบภาษาอังกฤษ แต่ชอบเกม ให้นักเรียนได้เล่นเกมในวิชาภาษาอังกฤษ ต่อมานักเรียนชอบวิชาภาษาอังกฤษเพราะได้เล่นเกม
  • 11. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์ ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. สร้างนิสัยที่ดีให้เด็ก เพื่อการสร้างคุณภาพแห่งชีวิต 2. ลบนิสัยที่ไม่ดีออกจากตัวเด็ก โดยวิธีการปรับพฤติกรรม 3. ให้การเสริมแรงแก่เด็กที่กระทำความดี 4. นำมาใช้สร้างบทเรียนสำเร็จรูป 5. นำมาใช้ในการสอนวิธีการพูดเป็นการให้แรงเสริมในการฝึกพูด
  • 12. ทฤษฎีสȨมྺองกลุ่มเกสตัลท์ใȨารȨไปใช้ใȨาร๶รียนการสอน 1. ครูชี้ให้เห็นวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายของบทเรียน 2. อธิบายให้นักเรียนเห็นภาพรวม ๆ หรือโครงสร้างของบทเรียนก่อนสอน 3. แนะนำกิจกรรมที่นักเรียนควรฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความเข้าใจ 4. สอนให้นักเรียนแก้ปัญหาด้วยตนเองเพื่อนำไปสู่การคิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็น
  • 13. ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของเลวิน ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. ครูใช้วิธีกลุ่มสัมพันธ์กับผู้เรียน จะได้เกิดการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ 2. ครูมุ่งเน้นการสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 3. ให้นักเรียนตั้งเป้าหมายในชีวิต เป้าหมายในแต่ละวิชา แต่ละบทเรียน 4. ใช้วิธีการจูงใจเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนตอบสนองต่อบทเรียน 5. ฝึกให้นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาในเกมง่าย ๆ และยากขึ้นตามลำดับ
  • 14. ทฤษฎีการ๶รียนรู้ของทอลแมน ในการนำไปใช้ในการเรียนการสอน 1. จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการคิด เปิดโอกาสให้พูด และแสดงความคิดเห็น 2. จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ มอบงานหรือกิจกรรมให้ทุกกลุ่ม ให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน เพื่อส่งเสริมการคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น 3. ให้นักเรียนอภิปรายในชั้นเรียน หรือใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพื่อให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับครูกับเพื่อน ๆ เพื่อให้เข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น
  • 15.