พลังงาȨึϹทน
- 2. จัดทำโดย 1. นายวรพล แสงแก้ว เลขที่ 3 2. นายศรัณย์ วงศ์ราษฎร์ เลขที่ 5 3. นายวงศกร เตชะแก้ว เลขที่ 9 4. นางสาวชญานี สมบัติเจริญกิจ เลขที่ 13 5. นางสาวสุริสาย คอยหลัง เลขที่ 23 6. นางสาววริญาภรณ์ เมืองมูล เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนฝายกวางวิทยาคม
- 6. วัสดุ / อุปกรณ์ที่ใช้ในการประดิษฐ์ 1. แผ่นกระเบื้อง 2. หนังสือพิมพ์ 3. โซดาไฟ 4. กระดาษชำระ 5. กาวลาเทกช์ 6. กาวร้อน / กาวตราช้าง 7. กล่องกระดาษ 8. กระดาษแข็ง 9. กระดาษฟรอยด์สีเงิน 10. แผ่นสก็อตไบร์
- 7. 11. ไม้จิ้มฟัน 12. ดินสอ , ยางลบ , ไม้บรรทัด 13. สายไฟ ( ใช้แต่ทองแดง ) 14. เจลก้อน 15. ผงสีตกแต่ง 16. ต้นไม้ปลอม 17. สีโปสเตอร์ 18. บ้านจิ๋ว 19. พูกัน / จานสี 20. หลอดดูดน้ำ 21. เครื่องบินเล็ก 22. ขนแปลงสีเขียว 23. กรรไกร , มีด , เลื่อย 24. สีเคลือบเงา 25. ไม้ไผ่
- 9. วิธีการทำ 1. นำกระเบื้องมาวัดขนาดตามที่ต้องการใช้ดินสอร่างภาพลงบนแผ่นกระเบื้องว่าส่วนไหนเป็นอะไร เริ่มทำส่วนที่ใหญ่ที่สุดและฐานก่อน 2. ส่วนที่เป็นภูเขาและฐานซึ่งต้องใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ในการทำเพื่อประหยัดต้นทุนโดยการนำหนังสือพิมพ์มาฉีกเป็นชิ้นเล็กแล้วนำนำไปแช่น้ำที่ผสมกับโซดาไฟที่เตรียมไว้แช่ทิ้งไว้สักพักแล้วนำมากรองแล้วล้างออกด้วยผงชักฟอกอีกที จากนั้นก็นำมาผสมกับกาวลาเท็กช์นวดให้เข้ากันจนสามารถนำมาขึ้นรูปตามแบบที่เราต้องการทับด้านบนด้นกระดาษชำระแช่น้ำผสมกาวเพราะที่ทำแบบนี้จะทำให้ง่าต่อการลงสีและจะเรียบกว่าหนังสือพิมพ์
- 12. 7. ส่วนที่เป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าและโรงงานรับพลังงาน ใช้กล่องกระดาษกล่องยาสีฟันมาติดเป็นตึกเป็นสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยมตามลักษณะที่ต้องการแล้วระบายสีทิ้งให้แห้งแล้วมาประกอบ 8. ส่วนที่เป็นเสาไฟฟ้า ใช้ไม่ไผ่มาตัดเป็นท่อนเล็กบ้าง มาต่อกันเป็นเสาไฟแล้วระบายสี โดยจะมีสายไฟฟ้าที่ใช้ต่อกันจากโรงงาน ให้นำสายไฟมาลอกเอายางออกใช้แต่ทองแดงมาฟันที่ใช้เป็นเสาตั้งติดต่อกับโรงงาน
- 13. 9. ส่วนที่เป็นกังหันลม ใช้กระดาษแข็งมาตัดและพับเป็นใบพัดแล้วนำมาติดกับไม้จิ้มฟันนำไปตั้งแล้วนำมาระบายสี 10. เมื่อชิ้นส่วนต่างๆแห้งก็ให้เอามาปักติดด้วยกาวตราช้างให้แน่นตามแต่ละส่วนแล้วติดลงฐาน ระบายสีตามต้องการ
- 15. อุปสรรคในการทำงาน 1. เรื่องราวในความเป็นจริงส่วนประกอบต่างๆที่มีเราจะต้องพยายามทำให้เหมือนจริงที่สุดเพราะไม่ฉะนั้นคนดูอาจไม่เข้าใจว่าเป็นอะไร 2. งานส่วนที่เป็นภูเขาและพื้นที่ใช้หนังสือพิมพ์ผสมกาวทำแห้งช้าทำให้ต้องเสียเวลารอให้แห้งก่อนจะลงสีได้ จึงนำมาตากแดดและทำส่วนประกอบอื่นๆรอ 3. การที่เราเริ่มทำภูเขา และตัดแผ่นกระเบื้องรองเป็นพื้นนั้นค่อนข้าง เล็ก ส่วนประกอบอื่นจึงต้องเล็กลงอีกซึ่งยากต่อการประดิษฐ์ เราจึงหาวัสดุสำเร็จที่ใช้แทนได้มาใช้ เช่นบ้านได้ใช้ตัวเล่นในเกมส์ เศรษฐี ต้นไม้ดอกไม้ก็ใช้ดอกไม้ประดับตู้ปลามาแทนที่จะทำขึ้นเอง
- 16. 4. ในการเทเจลส์ลงไปจะต้องเร็ว ไม่ให้ไหลออกนอกขอบและไม่ให้ขรุขระเพราะจะไม่สวยงาม จึงหาไม้มากั้นขอบก่อนรอเจลส์แห้งค่อยเอาออกด้วยความระวัง 5. การทำงานกลุ่มต้องอาศัยความร่วมมือของทุกคนในกลุ่มงานจึงจะออกมาดีและไม่เกิดความขัดแย้งไม่พอใจกัน พวกเราจึงช่วยกันออกความคิด ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกันและช่วยกันทำอย่างเต็มที่ด้วยความสามัคคี .
- 18. ความหมายของผลงาน คือ ผลงานที่เราได้ทำขึ้นเราพยายามจะสื่อถึงพลังงาȨึϹทนตามโครงการตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ปัจจุบันมีความสำคัญต่อประเทศไทยและมนุษย์ในสังคมโลกมาก โดยจะนำเสนอเฉพาะบางส่วนที่ปัจจุบันคนให้ความสำคัญมากๆคือพลังงานกระแสไฟฟ้าเท่านั้น นั่นคือ มีภูเขาและป่าไม้ที่เป็นแหล่งเก็บน้ำโดยการสร้างเขื่อนขึ้นมาและน้ำในเขื่อนก็จะถูกระบายออกมาไหลผ่านโรงผลิตกระแสไฟฟ้าก่อให้เกิดพลังงานไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยสามารถสนองความต้องการของประชาชนได้รวมทั้งในด้านการชลประทาน การปล่อยน้ำใช้ในการเกษตร