ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์   Electronic  Data  Interchange   ( EDI)   นางสาว มณีรัตน์  น้อยตำแย
การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์   ( Electronic  Data  Interchange (EDI)   หมายถึง    การสับเปลี่ยนเอกสารการซื้อขายทางธุรกิจระหว่างองค์กรมาตราฐาน  2  องค์กรขึ้นไปผ่านทางคอมพิวเตอร์โดยตรง สามารถนำไปใช้ได้ทั้งองค์กรภายในและองค์กรภายนอก ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศตัวอย่าง เช่น  ใบกำกับสินค้า ,   ใบขนของ   ,  และใบสั่งซื้อสินค้า  การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์นี้จัดว่า    เป็นส่วนหนึ่งของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  ( Electronic  Commerce : E – Commerce )  ปัจจุบันเริ่มมีหลายบริษัทหลายองค์กรที่นำเอาระบบ  EDI   เข้าไปใช้      ตัวอย่างเช่น   (  กรมศุลกากร  –  การนำเข้าส่งออกสินค้า  )  ,  (  ธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง  –  การซื้อสินค้า  ,  รายการสินค้า  )  (  ธนาคาร  –  การชำระเงินระหว่างองค์กร  )  , (  ธุรกิจขนส่ง  –  การไหลเวียนของสินค้าระหว่างท่าเรือ       และ     รวบรวมระบบท่าเรือกับผู้ขนสินค้าในประเทศ  และระหว่างประเทศ  )  (  ผู้นำเข้า  –  ส่งออก  –  กระบวนการนำเข้าส่งออก  )
              การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์      สามารถประหยัดงบประมาณ      และเวลาได้มาก   เพราะเอกสารสำหรับการซื้อขายสามารถส่งผ่านระบบสารสนเทศ    จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างสะดวกรวดเร็ว   ตลอดจนสามารถส่งผ่านถึงการสื่อสารทางไกลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ด้วย       แม้เกี่ยวกับงานพิมพ์ ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทาง    โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาในการส่งเอกสาร ระบบของ  EDI  นี้      เป็นกลยุทธ์ที่อำนวยประโยชน์ได้อย่างสูง ช่วยให้เกิดความเชื่อถือได้อย่างแน่นอน โดยการเข้ารหัส  (  Lock in )  ของลูกค้าให้ถูกต้อง และสามารถทำได้ง่าย ๆ สำหรับลูกค้า หรือผู้จำหน่าย ในการที่จะส่งสินค้าจากผู้จำหน่ายสินค้า
  ลักษณะการดำเนินงานของระบบ  EDI                การดำเนินงานของระบบ  EDI  มีขั้นตอนซึ่งทำหน้าที่ในการประสานงานกั้นหลายอย่างที่สำคัญ  คือ               1.  มี  EDI Gateway    ซึ่งมีหน้าที่เปรียบเสมือนกรมไปรษณีย์กลางอิเล็กทรอนิกส์    ตั้งประจำการเพื่อเป็นศูนย์กลางในการต่อเชื่อมระบบของการรับ  –  ส่ง     และแลกเปลี่ยนเอกสารธุรกิจกับหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ     ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในวัฏจักรการดำเนินงานธุรกิจทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชนจากต้นทาง   (  ผู้ส่ง  )  ไปยังปลายทาง  (  ผู้รับ  )               2.  โดยมี   VANS  ซึ่งมีหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นศูนย์ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ตามเขตต่าง ๆ ที่คอยให้บริการและดูแลระบบ  EDI  ตามขอบเขตและหน้าที่ของแต่ละ  VANS  ด้วยการดูแล    และรับผิดชอบเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ทำให้การรับส่ง และแลกเปลี่ยนกันจนถึงปลายทางอย่างถูกต้อง    รวมทั้งการได้รับความปลอดภัยทางด้านข้อมูลที่สามารถแสดงผลด้วยการลงบันทึกรายงานในแต่ละวัน และทำงานตลอด  24  ชั่วโมง               3.  เอกสารธุรกิจที่รับ  –  ส่ง โดยผ่านทางระบบ  EDI  นั้น จะต้องผนึกด้วยซองอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นซองที่ได้รับมาตรฐานของการใช้รับ  –  ส่ง     และแลเปลี่ยนเอกสารธุรกิจผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก    หรือที่สากลให้การยอมรับในนามของ  UN
องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ  EDI                 1. End User  ผู้ที่มีหน้าที่ในการรับ  –  ส่งเอกสารผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์  (  ผู้ประกอบการ   )               2. Value Added Networks ( VANS )  ผู้ที่มีหน้าที่ให้บริการทางด้านการรับ  –  ส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์  (  เปรียบเสมือนกับศูนย์ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ประจำเขตต่าง ๆ ที่ยินดีให้การบริการ   )               3.  EDI Gateway  เป็นศูนย์กลางในการคัดแยกเอกสาร ทำหน้าที่ในการคัดแยก     และนำส่งเอกสารผ่านไปยังจุดหมายปลายทาง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในการต่อเชื่อมระบบไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจนำเข้า และส่งออก
  ประเภทการเชื่อมโยงของ  EDI ( Typi – cal EDI Linkages ) ประเภทการเชื่อมโยงของการสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์นั้น เป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างผู้จำหน่ายสินค้า และลูกค้า การติดต่อของผู้จำหน่ายสินค้านั้น จะต้องมีส่วนของระบบการจัดจำหน่าย และในส่วนของลูกค้านั้นจะต้องมีส่วนที่เป็นชื่อของลูกค้า
ประโยชน์ของ  EDI            1.  ช่วยลดข้อผิดพลาด  (  Reduced errors )  โดยปกติแล้วการนำข้อมูลเข้าระบบ มักจะมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เพราะฉะนั้นหากมีการลดข้อผิดพลาดตรงนี้ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก จากการศึกษาข้อมูลของกลุ่ม  EDI Group Ltd.  พบว่า เมื่อไม่มีการใช้  EDI  มีข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นถึง  10.1  เปอร์เซ็นต์    แต่เมื่อมีการนำเอา  EDI  มาใช้ทำให้ข้อผิดพลาดลดลง เหลือ  4.4  เปอร์เซ็นต์                2.  ช่วยลดงบประมาณ  (  Reduced Costs )  เรื่องของงบประมาณนี้ สามารถลดลงได้จริง     หมายถึงช่วยลดงบประมาณในเรื่องของเอกสาร และคู่มือการปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อนขององค์กรในเรื่องของการช่วยลดงานด้านเอกสารนี้    สามารถลดได้ถึง  $1.30  ถึง  $5.50  ต่อเอกสารหนึ่งชุดหรือในระดับที่สูงไปกว่านี้คือ การสั่งซื้อสินค้า การตระเตรียมการสั่งซื้อโดยใช้ระบบ  EDI  นั้นช่วยให้สามารถลดงบประมาณได้ตั้ง  $75  ถึง  $350  เหล่านี้ คือ ความเป็นจริงของระบบ   EDI
            3.  ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน  (  Increased Operational Efficiency ) บริษัทต่าง ๆนั้นได้รับประโยชน์อย่างมากในการเข้าร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ เพราะฉะนั้น มีความเป็นไปได้สูงมากที่บริษัทเหล่านี้จะนำเอาระบบ  EDI  ไปใช้เพื่อขยายฐานบริษัทของตนเองให้กว้างไกลออกไปยิ่งขึ้น       และในช่วงจังหวะนี้ถือว่าเป็นโอกาสที่ดีมาก    ที่จะพัฒนาธุรกิจของตนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่ง เพราะระบบ  EDI  จะเข้าไปแทนที่ระบบเอกสาร             4.  ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน  (  Increased ability to Compete )  ด้วยการผสมผสานกันระหว่างข้อดีของการช่วยลดงบประมาณ และลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ดีที่มีอยู่ชนิดเดียวในเวลานี้    มันมีความเป็นไปได้ที่องค์กรระหว่างประเทศจะเน้นการนำเอาระบบ  EDI  มาใช้ในการติดต่อระหว่างบริษัทในเครือสมาชิก  ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทซึ่งเป็นผู้แข่งขันสามารถที่จะมีกระบวนการเทคโนโลยีที่สอดรับกับผลิตภัณฑ์    และนอกจากนั้นยังเป็นการเสนอการบริการที่ดีให้กับลูกค้าด้วย
อุปกรณ์สำหรับใช้บริการ  EDI               1. Hardware  คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ โมเด็ม และระบบคู่สายโทรศัพท์              2. EDI Software  ซึ่งมีซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับใช้ป้อนข้อมูลประเภทต่าง ๆ ของบริษัท    หรือสำนักงานของผู้ใช้บริการ โดยมีบริษัท  Software House  เป็นผู้ให้บริการ             3. Translation Software    เป็นซอฟต์แวร์สำหรับการแปลงข้อมูลที่ได้มาจาก   Application Software  แล้วแปลงให้เป็นข้อมูลของ  EDI  โดยมีบริษัท  Solution  เป็นผู้ให้บริการ            4. Communication Software    ซอฟต์แวร์สำหรับการสื่อสาร    เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ในการรับ  –  ส่งข้อมูล        EDI  ระหว่างผู้ใช้งานการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นผู้ให้บริการ  Transport Software
ขอบคุณค่ะ จบการนำเสนอ

More Related Content

การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์

  • 1. การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์ Electronic  Data  Interchange ( EDI) นางสาว มณีรัตน์ น้อยตำแย
  • 2. การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์ ( Electronic  Data  Interchange (EDI)   หมายถึง   การสับเปลี่ยนเอกสารการซื้อขายทางธุรกิจระหว่างองค์กรมาตราฐาน 2 องค์กรขึ้นไปผ่านทางคอมพิวเตอร์โดยตรง สามารถนำไปใช้ได้ทั้งองค์กรภายในและองค์กรภายนอก ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศตัวอย่าง เช่น  ใบกำกับสินค้า ,   ใบขนของ , และใบสั่งซื้อสินค้า การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์นี้จัดว่า   เป็นส่วนหนึ่งของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic  Commerce : E – Commerce ) ปัจจุบันเริ่มมีหลายบริษัทหลายองค์กรที่นำเอาระบบ EDI   เข้าไปใช้     ตัวอย่างเช่น ( กรมศุลกากร – การนำเข้าส่งออกสินค้า ) , ( ธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง – การซื้อสินค้า , รายการสินค้า ) ( ธนาคาร – การชำระเงินระหว่างองค์กร ) , ( ธุรกิจขนส่ง – การไหลเวียนของสินค้าระหว่างท่าเรือ      และ    รวบรวมระบบท่าเรือกับผู้ขนสินค้าในประเทศ  และระหว่างประเทศ ) ( ผู้นำเข้า – ส่งออก – กระบวนการนำเข้าส่งออก )
  • 3.               การสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์    สามารถประหยัดงบประมาณ     และเวลาได้มาก   เพราะเอกสารสำหรับการซื้อขายสามารถส่งผ่านระบบสารสนเทศ   จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างสะดวกรวดเร็ว   ตลอดจนสามารถส่งผ่านถึงการสื่อสารทางไกลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ด้วย      แม้เกี่ยวกับงานพิมพ์ ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทาง   โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาในการส่งเอกสาร ระบบของ EDI นี้    เป็นกลยุทธ์ที่อำนวยประโยชน์ได้อย่างสูง ช่วยให้เกิดความเชื่อถือได้อย่างแน่นอน โดยการเข้ารหัส ( Lock in ) ของลูกค้าให้ถูกต้อง และสามารถทำได้ง่าย ๆ สำหรับลูกค้า หรือผู้จำหน่าย ในการที่จะส่งสินค้าจากผู้จำหน่ายสินค้า
  • 4.   ลักษณะการดำเนินงานของระบบ EDI                การดำเนินงานของระบบ EDI มีขั้นตอนซึ่งทำหน้าที่ในการประสานงานกั้นหลายอย่างที่สำคัญ  คือ               1. มี EDI Gateway    ซึ่งมีหน้าที่เปรียบเสมือนกรมไปรษณีย์กลางอิเล็กทรอนิกส์   ตั้งประจำการเพื่อเป็นศูนย์กลางในการต่อเชื่อมระบบของการรับ – ส่ง    และแลกเปลี่ยนเอกสารธุรกิจกับหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ    ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในวัฏจักรการดำเนินงานธุรกิจทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชนจากต้นทาง ( ผู้ส่ง ) ไปยังปลายทาง ( ผู้รับ )               2. โดยมี VANS ซึ่งมีหน้าที่เปรียบเสมือนเป็นศูนย์ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ตามเขตต่าง ๆ ที่คอยให้บริการและดูแลระบบ EDI ตามขอบเขตและหน้าที่ของแต่ละ VANS ด้วยการดูแล   และรับผิดชอบเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ทำให้การรับส่ง และแลกเปลี่ยนกันจนถึงปลายทางอย่างถูกต้อง   รวมทั้งการได้รับความปลอดภัยทางด้านข้อมูลที่สามารถแสดงผลด้วยการลงบันทึกรายงานในแต่ละวัน และทำงานตลอด 24 ชั่วโมง               3. เอกสารธุรกิจที่รับ – ส่ง โดยผ่านทางระบบ EDI นั้น จะต้องผนึกด้วยซองอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นซองที่ได้รับมาตรฐานของการใช้รับ – ส่ง    และแลเปลี่ยนเอกสารธุรกิจผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก   หรือที่สากลให้การยอมรับในนามของ UN
  • 5. องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ EDI                 1. End User ผู้ที่มีหน้าที่ในการรับ – ส่งเอกสารผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ( ผู้ประกอบการ )               2. Value Added Networks ( VANS ) ผู้ที่มีหน้าที่ให้บริการทางด้านการรับ – ส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ ( เปรียบเสมือนกับศูนย์ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ประจำเขตต่าง ๆ ที่ยินดีให้การบริการ )               3.  EDI Gateway เป็นศูนย์กลางในการคัดแยกเอกสาร ทำหน้าที่ในการคัดแยก    และนำส่งเอกสารผ่านไปยังจุดหมายปลายทาง รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในการต่อเชื่อมระบบไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจนำเข้า และส่งออก
  • 6.   ประเภทการเชื่อมโยงของ EDI ( Typi – cal EDI Linkages ) ประเภทการเชื่อมโยงของการสับ๶ปลี่ยนข้อมูลอิ๶ล็กทรอȨกส์นั้น เป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างผู้จำหน่ายสินค้า และลูกค้า การติดต่อของผู้จำหน่ายสินค้านั้น จะต้องมีส่วนของระบบการจัดจำหน่าย และในส่วนของลูกค้านั้นจะต้องมีส่วนที่เป็นชื่อของลูกค้า
  • 7. ประโยชน์ของ EDI            1. ช่วยลดข้อผิดพลาด ( Reduced errors ) โดยปกติแล้วการนำข้อมูลเข้าระบบ มักจะมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก เพราะฉะนั้นหากมีการลดข้อผิดพลาดตรงนี้ได้ ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก จากการศึกษาข้อมูลของกลุ่ม EDI Group Ltd. พบว่า เมื่อไม่มีการใช้ EDI มีข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นถึง 10.1 เปอร์เซ็นต์   แต่เมื่อมีการนำเอา EDI มาใช้ทำให้ข้อผิดพลาดลดลง เหลือ 4.4 เปอร์เซ็นต์               2. ช่วยลดงบประมาณ ( Reduced Costs ) เรื่องของงบประมาณนี้ สามารถลดลงได้จริง    หมายถึงช่วยลดงบประมาณในเรื่องของเอกสาร และคู่มือการปฏิบัติงานที่ซ้ำซ้อนขององค์กรในเรื่องของการช่วยลดงานด้านเอกสารนี้   สามารถลดได้ถึง $1.30 ถึง $5.50 ต่อเอกสารหนึ่งชุดหรือในระดับที่สูงไปกว่านี้คือ การสั่งซื้อสินค้า การตระเตรียมการสั่งซื้อโดยใช้ระบบ EDI นั้นช่วยให้สามารถลดงบประมาณได้ตั้ง $75 ถึง $350 เหล่านี้ คือ ความเป็นจริงของระบบ EDI
  • 8.             3. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ( Increased Operational Efficiency ) บริษัทต่าง ๆนั้นได้รับประโยชน์อย่างมากในการเข้าร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ เพราะฉะนั้น มีความเป็นไปได้สูงมากที่บริษัทเหล่านี้จะนำเอาระบบ EDI ไปใช้เพื่อขยายฐานบริษัทของตนเองให้กว้างไกลออกไปยิ่งขึ้น      และในช่วงจังหวะนี้ถือว่าเป็นโอกาสที่ดีมาก   ที่จะพัฒนาธุรกิจของตนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่ง เพราะระบบ EDI จะเข้าไปแทนที่ระบบเอกสาร             4. ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ( Increased ability to Compete ) ด้วยการผสมผสานกันระหว่างข้อดีของการช่วยลดงบประมาณ และลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ดีที่มีอยู่ชนิดเดียวในเวลานี้   มันมีความเป็นไปได้ที่องค์กรระหว่างประเทศจะเน้นการนำเอาระบบ EDI มาใช้ในการติดต่อระหว่างบริษัทในเครือสมาชิก  ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทซึ่งเป็นผู้แข่งขันสามารถที่จะมีกระบวนการเทคโนโลยีที่สอดรับกับผลิตภัณฑ์   และนอกจากนั้นยังเป็นการเสนอการบริการที่ดีให้กับลูกค้าด้วย
  • 9. อุปกรณ์สำหรับใช้บริการ EDI              1. Hardware คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ โมเด็ม และระบบคู่สายโทรศัพท์              2. EDI Software ซึ่งมีซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับใช้ป้อนข้อมูลประเภทต่าง ๆ ของบริษัท   หรือสำนักงานของผู้ใช้บริการ โดยมีบริษัท Software House เป็นผู้ให้บริการ             3. Translation Software    เป็นซอฟต์แวร์สำหรับการแปลงข้อมูลที่ได้มาจาก Application Software แล้วแปลงให้เป็นข้อมูลของ EDI โดยมีบริษัท Solution เป็นผู้ให้บริการ            4. Communication Software    ซอฟต์แวร์สำหรับการสื่อสาร   เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ในการรับ – ส่งข้อมูล       EDI ระหว่างผู้ใช้งานการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นผู้ให้บริการ Transport Software