ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
สวȨม่ฟ้าหลวงสวȨม่ฟ้าหลวง ตั้งอยู่บนพื้นที่เดิมของหมู่บ้านอาข่าป่ากล้วย มีคนอาศัยอยู่ 62 ครอบครัว ในอดีตหมู่บ้านนี้ เป็นเส้นทางลำเลียงสำคัญและเป็นที่พักของกองคาราวานฝิ่น น้ำยาทำเฮโรอีน และอาวุธสงคราม ประกอบกับที่ตั้งมีลักษณะเป็นหุบลึกลงไป บ้านเรือนอยู่อย่างแออัด ขยายไม่ได้ จึงมีปัญหาเรื่องการดูแลความสะอาด ขยะ และน้ำเสีย ทางโครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงขอให้หมู่บ้านย้ายไปอยู่ที่ใหม่ห่างจากที่เดิมราว 500 เมตร แต่ตั้งอยู่บนเนินเขา กว้างขวาง และสวยงาม มีระบบประปาและไฟฟ้าเข้าถึง มีถนนลาดยางตัดผ่าน จึงเป็นที่พอใจของชาวบ้าน และในบริเวณหมู่บ้านเดิมก็สร้างสวนไม้ดอกไม้ประดับเมืองหนาว บนเนื้อที่ราว 30 ไร่ ตามพระราชดำริของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี ที่ต้องการให้คนไทยที่ไม่มีโอกาสไปต่างประเทศ ได้เห็นไม้ดอกเมืองหนาวที่สวนแห่งนี้ สวȨม่ฟ้าหลวง ตั้งอยู่ด้านหน้าพระตำหนักดอยตุง สร้างในปี พ.ศ. 2535 มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ ภายในประดับประดาด้วยไม้ดอกไม้ประดับนานาพรรณ มีดอกไม้เมืองหนาว อาทิ ดอกซัลเวียพิทูเนีย บีโกเนีย กุหลาบ ไม้มงคลต่าง ๆ นอกจากนั้นยังมีไม้ยืนต้นและซุ้มไม้เลี้อยอีกมากกว่า 70 ชนิด และยังมีรูปปั้นต่อเนื่อง ฝีมือปั้นของคุณมีเซียมยิปอินซอย กลางสวนมีงานประติมากรรม ของนางมิเซียม ยิบอินซอย โดยสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงพระราชทานชื่อว่า "ความต่อเนื่อง" (Continuity) สื่อถึงการทำงานใดๆ จะสำเร็จได้ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง
สวȨม่ฟ้าหลวง
รอบเวลา – เวลาเปิดทำการสวȨม่ฟ้าหลวง เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00-18.00 น. ค่าเข้าชมสวȨม่ฟ้าหลวง คนละ 100 บาท ถ้าเข้าชมทั้งพระตำหนักดอยตุงและสวȨม่ฟ้าหลวงจะเสียค่าเข้าชมคนละ 150 บาท
พระตำหนักดอยตุง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเรียกพระตำหนักนี้ว่า "บ้านที่ดอยตุง" วัตถุประสงค์แรกทั้งรัฐบาล ข้าราชบริพารตั้งใจให้เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานแทนที่จะเสด็จไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ แต่สำหรับพระองค์ท่านแล้ว หากว่าไม่มีโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ไม่มีงานถวายให้ทรง ไม่เสด็จมาประทับอยู่ที่นี่ ในตอนแรก กรมป่าไม้ ต้องการน้อมเกล้าฯถวาย พื้นที่ที่จะสร้างพระตำหนักแต่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีไม่ทรงรับ เนื่องจากเป็นเขตป่าสงวน ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะมีอภิสิทธิ์เหนือประชาชนคนไทยทั่วไป พระตำหนักดอยตุง สร้างจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ด้านนอกก่อสร้างด้วยคอนกรีตตกแต่งด้วยปีกไม้ ซึ่งเป็นไม้สักขนาดเล็กที่ได้จากการทอนไม้ที่ไม่ได้ขนาดในสวนป่าขององค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ เพื่อให้ไม้สักที่เหลือเจริญเติบโตแข็งแรง ได้ใช้ประโยชน์ต่อไป ภายในพระตำหนักบุผนังด้วยไม้สนจากลังไม้ที่ใส่เครื่องมือและอุปกรณ์ขนาดใหญ่ นำเข้ามาจากต่างประเทศ ส่วนพื้นเป็นไม้สักทองที่องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้น้อมเกล้าฯ ถวาย การสร้างพระตำหนักจึงเป็นตัวอย่างของการรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้ คุณค่า ตัวอาคารชั้นบนแยกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ประทับของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ส่วนท้องพระโรงและห้องประกอบพระกระยาหาร ส่วนที่พักของท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม พระธิดาในสมเด็จพระพี่นางเธอ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และส่วนที่ประทับของสมเด็จพระพี่นางเธอ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ การตกแต่งภายในเป็นไปอย่างเรียบง่าย สง่างาม เน้นประโยชน์ใช้สอยอย่างพอดี สะท้อนลักษณะอุปนิสัยของ เจ้าของบ้านได้เป็นอย่างดี ลักษณะเด่นของพระตำหนัก คือ เพดานท้องพระโรง ที่แกะสลักเป็นกลุ่มดาวต่างๆ ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเลือก และตรงกลางสลักเป็นกลุ่มดาวในสุริยะจักรวาลเรียงตามองศาในวันที่ 21 ตุลาคม 2443 ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพ และฝังดวงไฟให้กำลังแสงตามขนาดที่ได้สัดส่วนตามจริง โดยการคำนวณ และออกแบบโดยสมาคมดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย
พระตำหนักดอยตุง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้เสด็จฯ มาประทับที่พระตำหนักดอยตุงเป็นครั้งแรกในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2531 10 เดือน จากวันที่เริ่มก่อสร้างและพระตำหนักยังไม่เสร็จสมบูรณ์ดี หลังจากนั้นพระองค์เสด็จฯ มาประทับทรงงานที่พระตำหนักดอยตุงอีก 5 ครั้ง แต่ละครั้งเป็นเวลาหลายเดือน ภายหลังจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสวรรคต พระตำหนังดอยตุงจึงถูกพัฒนาให้เป็นสถานที่ให้ความรู้กับนักท่องเที่ยว เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้วย
สวȨม่ฟ้าหลวง
สวȨม่ฟ้าหลวง

More Related Content

สวȨม่ฟ้าหลวง

  • 1. สวȨม่ฟ้าหลวงสวȨม่ฟ้าหลวง ตั้งอยู่บนพื้นที่เดิมของหมู่บ้านอาข่าป่ากล้วย มีคนอาศัยอยู่ 62 ครอบครัว ในอดีตหมู่บ้านนี้ เป็นเส้นทางลำเลียงสำคัญและเป็นที่พักของกองคาราวานฝิ่น น้ำยาทำเฮโรอีน และอาวุธสงคราม ประกอบกับที่ตั้งมีลักษณะเป็นหุบลึกลงไป บ้านเรือนอยู่อย่างแออัด ขยายไม่ได้ จึงมีปัญหาเรื่องการดูแลความสะอาด ขยะ และน้ำเสีย ทางโครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงขอให้หมู่บ้านย้ายไปอยู่ที่ใหม่ห่างจากที่เดิมราว 500 เมตร แต่ตั้งอยู่บนเนินเขา กว้างขวาง และสวยงาม มีระบบประปาและไฟฟ้าเข้าถึง มีถนนลาดยางตัดผ่าน จึงเป็นที่พอใจของชาวบ้าน และในบริเวณหมู่บ้านเดิมก็สร้างสวนไม้ดอกไม้ประดับเมืองหนาว บนเนื้อที่ราว 30 ไร่ ตามพระราชดำริของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี ที่ต้องการให้คนไทยที่ไม่มีโอกาสไปต่างประเทศ ได้เห็นไม้ดอกเมืองหนาวที่สวนแห่งนี้ สวȨม่ฟ้าหลวง ตั้งอยู่ด้านหน้าพระตำหนักดอยตุง สร้างในปี พ.ศ. 2535 มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ ภายในประดับประดาด้วยไม้ดอกไม้ประดับนานาพรรณ มีดอกไม้เมืองหนาว อาทิ ดอกซัลเวียพิทูเนีย บีโกเนีย กุหลาบ ไม้มงคลต่าง ๆ นอกจากนั้นยังมีไม้ยืนต้นและซุ้มไม้เลี้อยอีกมากกว่า 70 ชนิด และยังมีรูปปั้นต่อเนื่อง ฝีมือปั้นของคุณมีเซียมยิปอินซอย กลางสวนมีงานประติมากรรม ของนางมิเซียม ยิบอินซอย โดยสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงพระราชทานชื่อว่า "ความต่อเนื่อง" (Continuity) สื่อถึงการทำงานใดๆ จะสำเร็จได้ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง
  • 3. รอบเวลา – เวลาเปิดทำการสวȨม่ฟ้าหลวง เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00-18.00 น. ค่าเข้าชมสวȨม่ฟ้าหลวง คนละ 100 บาท ถ้าเข้าชมทั้งพระตำหนักดอยตุงและสวȨม่ฟ้าหลวงจะเสียค่าเข้าชมคนละ 150 บาท
  • 4. พระตำหนักดอยตุง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเรียกพระตำหนักนี้ว่า "บ้านที่ดอยตุง" วัตถุประสงค์แรกทั้งรัฐบาล ข้าราชบริพารตั้งใจให้เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานแทนที่จะเสด็จไปประทับ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ แต่สำหรับพระองค์ท่านแล้ว หากว่าไม่มีโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ไม่มีงานถวายให้ทรง ไม่เสด็จมาประทับอยู่ที่นี่ ในตอนแรก กรมป่าไม้ ต้องการน้อมเกล้าฯถวาย พื้นที่ที่จะสร้างพระตำหนักแต่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีไม่ทรงรับ เนื่องจากเป็นเขตป่าสงวน ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะมีอภิสิทธิ์เหนือประชาชนคนไทยทั่วไป พระตำหนักดอยตุง สร้างจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ด้านนอกก่อสร้างด้วยคอนกรีตตกแต่งด้วยปีกไม้ ซึ่งเป็นไม้สักขนาดเล็กที่ได้จากการทอนไม้ที่ไม่ได้ขนาดในสวนป่าขององค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้ เพื่อให้ไม้สักที่เหลือเจริญเติบโตแข็งแรง ได้ใช้ประโยชน์ต่อไป ภายในพระตำหนักบุผนังด้วยไม้สนจากลังไม้ที่ใส่เครื่องมือและอุปกรณ์ขนาดใหญ่ นำเข้ามาจากต่างประเทศ ส่วนพื้นเป็นไม้สักทองที่องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้น้อมเกล้าฯ ถวาย การสร้างพระตำหนักจึงเป็นตัวอย่างของการรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้ คุณค่า ตัวอาคารชั้นบนแยกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ประทับของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ส่วนท้องพระโรงและห้องประกอบพระกระยาหาร ส่วนที่พักของท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม พระธิดาในสมเด็จพระพี่นางเธอ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และส่วนที่ประทับของสมเด็จพระพี่นางเธอ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ การตกแต่งภายในเป็นไปอย่างเรียบง่าย สง่างาม เน้นประโยชน์ใช้สอยอย่างพอดี สะท้อนลักษณะอุปนิสัยของ เจ้าของบ้านได้เป็นอย่างดี ลักษณะเด่นของพระตำหนัก คือ เพดานท้องพระโรง ที่แกะสลักเป็นกลุ่มดาวต่างๆ ที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเลือก และตรงกลางสลักเป็นกลุ่มดาวในสุริยะจักรวาลเรียงตามองศาในวันที่ 21 ตุลาคม 2443 ซึ่งเป็นวันพระราชสมภพ และฝังดวงไฟให้กำลังแสงตามขนาดที่ได้สัดส่วนตามจริง โดยการคำนวณ และออกแบบโดยสมาคมดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย
  • 5. พระตำหนักดอยตุง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้เสด็จฯ มาประทับที่พระตำหนักดอยตุงเป็นครั้งแรกในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2531 10 เดือน จากวันที่เริ่มก่อสร้างและพระตำหนักยังไม่เสร็จสมบูรณ์ดี หลังจากนั้นพระองค์เสด็จฯ มาประทับทรงงานที่พระตำหนักดอยตุงอีก 5 ครั้ง แต่ละครั้งเป็นเวลาหลายเดือน ภายหลังจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสวรรคต พระตำหนังดอยตุงจึงถูกพัฒนาให้เป็นสถานที่ให้ความรู้กับนักท่องเที่ยว เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้วย