ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
เรื่อง ร้อยกรอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ครูศิวธิดา ทรัพย์เหมือน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ร้อยกรอง ร้อยกรอง คือ คำประพันธ์ที่แต่งขึ้นอย่างสละสลวย มีความไพเราะและมีข้อบังคับในการแต่งเรียกว่า “ฉันทลักษณ์” นักเรียนรู้จักร้อยกรองประเภทใดบ้าง
ประเภทของร้อยรอง ร้อยกรองมี ๕ ประเภทใหญ่ ๆ คือ ๑ .  โคลง  ได้แก่  โคลงสี่สุภาพ โคลงดั้น ๒ .  ฉันท์  ได้แก่ วสันตดิลกฉันท์ อินทรวิเชียรฉันท์ ๓ .  กาพย์ ได้แก่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๔ .  กลอน ได้แก่ กลอนสุภาพ กลอนสักวา ๕ .  ร่าย ได้แก่ ร่ายยาว ร่ายโบราณ นอกจากนี้นักเรียนคิดว่ายังมีอะไรอีกบ้าง
นอกจากนี้ยังมีการนำคำร้อยกรองบางประเภทมาแต่งรวมกัน เช่น ร่าย  +   โคลง เรียกว่า ลิลิต โคลง  +  กาพย์ เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง กาพย์  +  ฉันท์ เรียกว่า คำฉันท์
ลักษณะบังคับในการแต่งบทร้อยกรอง ๑ .  คณะ  จำนวนคำที่บังคับตามฉันทลักษณ์สำหรับบทร้อยกรองทุกประเภท  กาพย์ยานี ๑๑ กำหนดไว้ว่า ๑ บาท มี ๑๑ คำ กลอนสุภาพ กำหนดไว้ว่า ๑ บาท มี ๗ - ๙ คำ ๒ .  คำสัมผัส  คือ การเขียนคำให้คล้องจองเมื่ออ่านแล้วทำให้เกิดความไพเราะ ซึ่งเป็น สิ่งสำคัญที่สุด ในการเขียนร้อยกรอง คำสัมผัสมี ๒ ชนิด
คำสัมผัส ก .  สัมผัสนอกหรือสัมผัสบังคับ  คือ การสัมผัสเสียงสระระหว่างวรรค ซึ่งจะกำหนดไว้ตายตัวสำหรับร้อยกรองแต่ละชนิด จะขาดไม่ได้ถือว่าผิดฉันทลักษณ์ นอกจากนี้ยังมีสัมผัสระหว่างบทเมื่อเขียนบทร้อยกรองมากกว่า ๑ บท จะต้องมีคำส่งสัมผัสในบทต่อไป
ตัวอย่างสัมผัสนอก จงรักนวลสงวนงามห้ามใจ ไว้ อย่าหลง ใหล จำคำที่พร่ำ สอน คิดถึงหน้าบิดาแลมาร ดร อย่ารีบ ร้อน เร็วนักมักไม่ ดี เมื่อสุกงอมหอมหวนจึงควร หล่น อยู่กับ ต้น อย่าให้พรากไปจาก ที่ อย่าชิงสุกก่อนห่ามไม่งาม ดี เมื่อบุญ มี คงจะมาอย่าปรารมภ์
ข .  สัมผัสใน  คือ การสัมผัสระหว่างคำในแต่ละวรรค จะมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีก็จะทำให้ร้อยกรองมีความไพเราะยิ่งขึ้น สัมผัสในมี ๒ ชนิด คือ  สัมผัสสระ  คือ คำที่มีเสียงสระเดียวกันและมีตัวสะกดอยู่มาตราเดียวกัน เช่น เป็น มนุษย์สุด นิ ยม เพียง ลม ปาก จะได้ ยาก โหย หิว เพราะ ชิว หา
 สัมผัสอักษร  คือ คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนหรือคล้ายกัน เช่น พระ โหยหวน ครวญเพลง วังเวง จิต ให้ชวนคิด ถึงถิ่นถวิล หวัง ๓ .  คำเอกโท  เป็นลักษณะบังคับในการแต่งโคลง คำเอก คือ คำที่มีรูปวรรณยุกต์เอกกำกับ เช่น นี่ พี่ คำโท คือ คำที่มีรูปวรรณยุกต์โทกำกับ เช่น ห้า น้า
๔ .  คำครุ คำลหุ  เป็นลักษณะบังคับในการแต่งฉันท์ คำครุ  ( ใช้สัญลักษณ์  ั  )  คือ คำที่ประสมเสียงสระยาวในแม่ ก กา และมีตัวสะกด รวมทั้ง อำ ไอ ใอ เอา คำลหุ  ( ใช้สัญลักษณ์  ุ  )  คือ คำที่ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก กา ซึ่งไม่มีตัวสะกด
กลอนสุภาพ คณะ -  ๑ บท มี ๒ บาท -  ๑ บาท มี ๒ วรรค -  ๑ บท มี ๔ วรรค -  วรรคหนึ่งมีคำจำนวน ๗ - ๙ คำ -  วรรคที่ ๑ เรียกว่า  วรรคสดับ  วรรคที่ ๒ เรียกว่า  วรรครับ  วรรคที่ ๓ เรียกว่า  วรรครอง  วรรคที่ ๔ เรียกว่า  วรรคส่ง
ผังฉันทลักษณ์
ข้อบังคับในการใช้เสียงวรรณยุกต์ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ใช้ได้ทุกเสียง แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ใช้เสียงเอก โท หรือจัตวาดีที่สุด  ห้ามใช้เสียงสามัญ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ใช้เสียงสามัญดีที่สุด ห้ามใช้เสียงเอก โท และจัตวา
กลอนดอกสร้อย  คณะ  -  ๑ บท มี ๘ วรรค -  วรรคแรกมี ๔ คำ คำที่ ๒ ใช้คำว่า เอ๋ย คำสุดท้ายของบทจะลงท้ายด้วยคำว่า เอย เสมอ
ผังฉันทลักษณ์ ๐  เอ๋ย  ๐ เอย
ตัวอย่างกลอนดอกสร้อย จันทร์เอ๋ยจันทร์ เจ้า ใครขอ ข้าว ขอแกงท้องแห้ง หนอ ร้องจนเสียงแห้งแหบถึงแสบ คอ จันทร์จะ รอ ให้เราก็เปล่า ดาย ยืมจมูกท่านหายใจเห็นไม่ คล่อง จะหา ช่อง เลี้ยงตนเร่งขวน ขวาย แม้นเป็นคนเกียจคร้านพานกรีด กราย ไปมัว หมาย จันทร์เจ้าอดข้าวเอย
กลอนสักวา  คณะ  -  ๑ บทมี ๘ วรรค วรรคแรกขึ้นต้นด้วยคำว่า สักวา และวรรคสุดท้ายของบทจะลงท้ายด้วย เอย เสมอ
ผังฉันทลักษณ์ เอย สักวา
ตัวอย่างกลอนสักวา สักวาหวานอื่นมีหมื่น แสน   ไม่เหมือน แม้น พจมานที่หวาน หอม กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะ ยอม   อาจจะ น้อม จิตโน้มด้วยโลม ลม แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบ ปลื้ม   ดังดูด ดื่ม บอระเพ็ดต้องเข็ด ขม ผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอา รมณ์   ใครฟัง ลม เมินหน้าระอาเอย
โคลงสี่สุภาพ  คณะ -  ๑ บท มี ๔ บาท มีวรรคหน้ากับวรรคหลัง -  วรรคหน้าของทุกบาทมี ๕ คำ วรรคหลังของบาทที่ ๑ ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คำ สามารถเติมคำสร้อยในวรรคหลังของบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ ได้อีก ๒ คำ  สัมผัส -  สัมผัสสระมีลักษณะบังคับตามแผนผัง  -  มีการกำหนดรูปวรรณยุกต์เอก ๗ ตำแหน่ง และรูปวรรณยุกต์โท ๔ ตำแหน่ง
ผังฉันทลักษณ์
ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ เสียงลือเสียง เล่า อ้าง   อันใด พี่เอย เสียง ย่อม ยอยศใคร ทั่ว หล้า สองเขือ พี่ หลับใหล ลืม ตื่น  ฤๅพี่ สอง พี่ คิดเอง อ้า อย่า ได้ ถามเผือ
กาพย์ยานี ๑๑  คณะ -   ๑ บท มี ๒ บาท  ( ๔ วรรค ) -  วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ  ( หน้า ๕ หลัง ๖ )  รวมบาทละ ๑๑ คำ
ผังฉันทลักษณ์
พ่อจึงแถลง ไข ให้แจ้ง ใจ อย่างถ้วน ถี่ เมล็ดพืชที่เจ้า มี ไม่ มี วันผลิดอก ใบ เพราะพ่อคั่วสุก แล้ว นะลูก แก้ว จงเข้า ใจ พ่อสิควรสง สัย ว่าเหตุ ใด มันงอกงาม ตัวอย่างกาพย์ยานี ๑๑
ภาระงาน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ ๔ - ๕ คน แล้วส่งผู้แทนกลุ่มออกมาจับฉลาก นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฉลากประเภทของบทประพันธ์ที่ไม่ซ้ำกัน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดูรูปภาพที่ครูกำหนดให้แล้วแต่งบทร้อยกรองตามประเภทร้อยกรองที่กลุ่มจับฉลากได้ โดยแต่งเป็นร้อยกรอง ๒ บท  ( ให้เวลา ๑๕ นาที ) -  ผู้แทนกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน

More Related Content

ร้อยกรอง

  • 1.
  • 2. เรื่อง ร้อยกรอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ครูศิวธิดา ทรัพย์เหมือน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
  • 3. ร้อยกรอง ร้อยกรอง คือ คำประพันธ์ที่แต่งขึ้นอย่างสละสลวย มีความไพเราะและมีข้อบังคับในการแต่งเรียกว่า “ฉันทลักษณ์” นักเรียนรู้จักร้อยกรองประเภทใดบ้าง
  • 4. ประเภทของร้อยรอง ร้อยกรองมี ๕ ประเภทใหญ่ ๆ คือ ๑ . โคลง ได้แก่ โคลงสี่สุภาพ โคลงดั้น ๒ . ฉันท์ ได้แก่ วสันตดิลกฉันท์ อินทรวิเชียรฉันท์ ๓ . กาพย์ ได้แก่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๔ . กลอน ได้แก่ กลอนสุภาพ กลอนสักวา ๕ . ร่าย ได้แก่ ร่ายยาว ร่ายโบราณ นอกจากนี้นักเรียนคิดว่ายังมีอะไรอีกบ้าง
  • 5. นอกจากนี้ยังมีการนำคำร้อยกรองบางประเภทมาแต่งรวมกัน เช่น ร่าย + โคลง เรียกว่า ลิลิต โคลง + กาพย์ เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง กาพย์ + ฉันท์ เรียกว่า คำฉันท์
  • 6. ลักษณะบังคับในการแต่งบทร้อยกรอง ๑ . คณะ จำนวนคำที่บังคับตามฉันทลักษณ์สำหรับบทร้อยกรองทุกประเภท กาพย์ยานี ๑๑ กำหนดไว้ว่า ๑ บาท มี ๑๑ คำ กลอนสุภาพ กำหนดไว้ว่า ๑ บาท มี ๗ - ๙ คำ ๒ . คำสัมผัส คือ การเขียนคำให้คล้องจองเมื่ออ่านแล้วทำให้เกิดความไพเราะ ซึ่งเป็น สิ่งสำคัญที่สุด ในการเขียนร้อยกรอง คำสัมผัสมี ๒ ชนิด
  • 7. คำสัมผัส ก . สัมผัสนอกหรือสัมผัสบังคับ คือ การสัมผัสเสียงสระระหว่างวรรค ซึ่งจะกำหนดไว้ตายตัวสำหรับร้อยกรองแต่ละชนิด จะขาดไม่ได้ถือว่าผิดฉันทลักษณ์ นอกจากนี้ยังมีสัมผัสระหว่างบทเมื่อเขียนบทร้อยกรองมากกว่า ๑ บท จะต้องมีคำส่งสัมผัสในบทต่อไป
  • 8. ตัวอย่างสัมผัสนอก จงรักนวลสงวนงามห้ามใจ ไว้ อย่าหลง ใหล จำคำที่พร่ำ สอน คิดถึงหน้าบิดาแลมาร ดร อย่ารีบ ร้อน เร็วนักมักไม่ ดี เมื่อสุกงอมหอมหวนจึงควร หล่น อยู่กับ ต้น อย่าให้พรากไปจาก ที่ อย่าชิงสุกก่อนห่ามไม่งาม ดี เมื่อบุญ มี คงจะมาอย่าปรารมภ์
  • 9. ข . สัมผัสใน คือ การสัมผัสระหว่างคำในแต่ละวรรค จะมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีก็จะทำให้ร้อยกรองมีความไพเราะยิ่งขึ้น สัมผัสในมี ๒ ชนิด คือ  สัมผัสสระ คือ คำที่มีเสียงสระเดียวกันและมีตัวสะกดอยู่มาตราเดียวกัน เช่น เป็น มนุษย์สุด นิ ยม เพียง ลม ปาก จะได้ ยาก โหย หิว เพราะ ชิว หา
  • 10.  สัมผัสอักษร คือ คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนหรือคล้ายกัน เช่น พระ โหยหวน ครวญเพลง วังเวง จิต ให้ชวนคิด ถึงถิ่นถวิล หวัง ๓ . คำเอกโท เป็นลักษณะบังคับในการแต่งโคลง คำเอก คือ คำที่มีรูปวรรณยุกต์เอกกำกับ เช่น นี่ พี่ คำโท คือ คำที่มีรูปวรรณยุกต์โทกำกับ เช่น ห้า น้า
  • 11. ๔ . คำครุ คำลหุ เป็นลักษณะบังคับในการแต่งฉันท์ คำครุ ( ใช้สัญลักษณ์ ั ) คือ คำที่ประสมเสียงสระยาวในแม่ ก กา และมีตัวสะกด รวมทั้ง อำ ไอ ใอ เอา คำลหุ ( ใช้สัญลักษณ์ ุ ) คือ คำที่ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก กา ซึ่งไม่มีตัวสะกด
  • 12. กลอนสุภาพ คณะ - ๑ บท มี ๒ บาท - ๑ บาท มี ๒ วรรค - ๑ บท มี ๔ วรรค - วรรคหนึ่งมีคำจำนวน ๗ - ๙ คำ - วรรคที่ ๑ เรียกว่า วรรคสดับ วรรคที่ ๒ เรียกว่า วรรครับ วรรคที่ ๓ เรียกว่า วรรครอง วรรคที่ ๔ เรียกว่า วรรคส่ง
  • 14. ข้อบังคับในการใช้เสียงวรรณยุกต์ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ใช้ได้ทุกเสียง แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ใช้เสียงเอก โท หรือจัตวาดีที่สุด ห้ามใช้เสียงสามัญ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ใช้เสียงสามัญดีที่สุด ห้ามใช้เสียงเอก โท และจัตวา
  • 15. กลอนดอกสร้อย  คณะ - ๑ บท มี ๘ วรรค - วรรคแรกมี ๔ คำ คำที่ ๒ ใช้คำว่า เอ๋ย คำสุดท้ายของบทจะลงท้ายด้วยคำว่า เอย เสมอ
  • 16. ผังฉันทลักษณ์ ๐ เอ๋ย ๐ เอย
  • 17. ตัวอย่างกลอนดอกสร้อย จันทร์เอ๋ยจันทร์ เจ้า ใครขอ ข้าว ขอแกงท้องแห้ง หนอ ร้องจนเสียงแห้งแหบถึงแสบ คอ จันทร์จะ รอ ให้เราก็เปล่า ดาย ยืมจมูกท่านหายใจเห็นไม่ คล่อง จะหา ช่อง เลี้ยงตนเร่งขวน ขวาย แม้นเป็นคนเกียจคร้านพานกรีด กราย ไปมัว หมาย จันทร์เจ้าอดข้าวเอย
  • 18. กลอนสักวา  คณะ - ๑ บทมี ๘ วรรค วรรคแรกขึ้นต้นด้วยคำว่า สักวา และวรรคสุดท้ายของบทจะลงท้ายด้วย เอย เสมอ
  • 20. ตัวอย่างกลอนสักวา สักวาหวานอื่นมีหมื่น แสน ไม่เหมือน แม้น พจมานที่หวาน หอม กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะ ยอม อาจจะ น้อม จิตโน้มด้วยโลม ลม แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบ ปลื้ม ดังดูด ดื่ม บอระเพ็ดต้องเข็ด ขม ผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอา รมณ์ ใครฟัง ลม เมินหน้าระอาเอย
  • 21. โคลงสี่สุภาพ  คณะ - ๑ บท มี ๔ บาท มีวรรคหน้ากับวรรคหลัง - วรรคหน้าของทุกบาทมี ๕ คำ วรรคหลังของบาทที่ ๑ ๒ และ ๓ มีวรรคละ ๒ คำ สามารถเติมคำสร้อยในวรรคหลังของบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ ได้อีก ๒ คำ  สัมผัส - สัมผัสสระมีลักษณะบังคับตามแผนผัง - มีการกำหนดรูปวรรณยุกต์เอก ๗ ตำแหน่ง และรูปวรรณยุกต์โท ๔ ตำแหน่ง
  • 23. ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ เสียงลือเสียง เล่า อ้าง อันใด พี่เอย เสียง ย่อม ยอยศใคร ทั่ว หล้า สองเขือ พี่ หลับใหล ลืม ตื่น ฤๅพี่ สอง พี่ คิดเอง อ้า อย่า ได้ ถามเผือ
  • 24. กาพย์ยานี ๑๑  คณะ - ๑ บท มี ๒ บาท ( ๔ วรรค ) - วรรคหน้ามี ๕ คำ วรรคหลังมี ๖ คำ ( หน้า ๕ หลัง ๖ ) รวมบาทละ ๑๑ คำ
  • 26. พ่อจึงแถลง ไข ให้แจ้ง ใจ อย่างถ้วน ถี่ เมล็ดพืชที่เจ้า มี ไม่ มี วันผลิดอก ใบ เพราะพ่อคั่วสุก แล้ว นะลูก แก้ว จงเข้า ใจ พ่อสิควรสง สัย ว่าเหตุ ใด มันงอกงาม ตัวอย่างกาพย์ยานี ๑๑
  • 27. ภาระงาน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ ๔ - ๕ คน แล้วส่งผู้แทนกลุ่มออกมาจับฉลาก นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฉลากประเภทของบทประพันธ์ที่ไม่ซ้ำกัน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มดูรูปภาพที่ครูกำหนดให้แล้วแต่งบทร้อยกรองตามประเภทร้อยกรองที่กลุ่มจับฉลากได้ โดยแต่งเป็นร้อยกรอง ๒ บท ( ให้เวลา ๑๕ นาที ) - ผู้แทนกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
  • 28.
  • 29.