ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์
(Student Teams – Achievemen
Division: STAD)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดเรียนรู้
แบบ STAD มี 2 ประการคือ
1. เป้ าหมายของกลุ่ม (Group Goal) เงื่อนไขนี้เป็นสิ่งจาเป็นอย่าง
ยิ่งสาหรับผู้เรียน ทั้งนี้เพราะกลุ่มจาเป็นต้องให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้
ทราบเป้าหมายของกลุ่มในการร่วมมือกันทางาน ถ้าปราศจากเงื่อนไขข้อ
นี้งานจะสาเร็จไม่ได้เลย
2. ความรับผิดชอบต่อตนเอง (Individual Accountability)
สมาชิกในกลุ่มทุกคนจะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองเท่าๆกับ
รับผิดชอบต่อกลุ่ม
หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ใน
การจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น สมาชิกในกลุ่มทุกคน
ต้องปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน 5 ประการดังต่อไปนี้
1. การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก (Positive
Interdependent)
นักเรียนจะรู้สึกว่าตนเองจาเป็นจะต้องอาศัยผู้อื่นในการที่จะทางานกลุ่มให้สาเร็จ
กล่าวคือ "ร่วมเป็นร่วมตาย" วิธีการที่จะทาให้เกิดความรู้สึกเช่นนี้อาจจะทาได้
โดยทาให้มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เช่น ถ้านักเรียนทาคะแนนกลุ่มได้สูงแต่ละคนจะ
ได้รับรางวัลร่วมกัน ประเด็นที่สาคัญก็คือสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องทางาน
กลุ่มให้เป็นผลสาเร็จ ซึ่งความสาเร็จนี้จะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วมใจของ
สมาชิกทุกคน จะไม่มีการยอมรับความสาคัญหรือความสามารถของบุคคลเพียง
คนเดียว
2. การติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรง (Face to Face Interaction)
เนื่องจากการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก ผลดีที่จะเกิดขึ้นจากการพึ่งพาอาศัย
ซึ่งกันละกันนั้น จะต้องมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่าง
นักเรียนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม ในการจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น การสรุปเรื่อง
การอธิบาย การขยายความในบทเรียนที่เรียนมาให้แก่เพื่อนในกลุ่มเป็นลักษณะ
สัมพันธ์ของการติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงการจัดการเรียนรู้แบบ STAD
3. การรับผิดชอบงานกลุ่มของกลุ่ม (Individual
Accountability at Group Work) การจัดการเรียนรู้
แบบ STAD จะถือว่าไม่สาเร็จจนกว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะได้
เรียนรู้เรื่องในบทเรียนได้ทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจาเป็นต้องวัดผลการเรียน
ของแต่ละคนเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้ช่วยเหลือเพื่อนที่เรียนไม่เก่ง
4. ทักษะในความสัมพันธ์กับกลุ่มเล็กและผู้อื่น(Social skills) นักเรียนทุก
คนไม่ได้มาโรงเรียนพร้อมกับทักษะในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เพราะฉะนั้น
จึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะช่วยนักเรียนในการสื่อสารการเป็นผู้นา การไว้ใจผู้อื่น
การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง เพราะการจัดการเรียนรู้แบบ STAD
ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงการที่จัดให้นักเรียนมานั่งทางานเป็นกลุ่มเท่านั้น จาก
ทักษะการทางานกลุ่มนี้เองที่จะทาให้นักเรียนช่วยเหลือ เอื้ออาทรในการถ่ายถอด
ความรู้ซึ่งกันและกัน และมีการร่วมมือในกลุ่ม ดังนั้นทุกคนจึงเกิดการเรียนรู้ที่จะ
มีส่วนร่วมในการทางานให้กลุ่มได้รับความสาเร็จ
5. กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กระบวนการกลุ่ม หมายถึง
การให้นักเรียนมีเวลาและใช้กระบวนการในการวิเคราะห์ว่ากลุ่มทางานได้
เพียงใด และสามารถใช้ทักษะสังคมและมนุษยสัมพันธ์ได้เหมาะสม กระบวนการ
กลุ่มนี้จะช่วยให้สมาชิกในกลุ่มทางานได้ผล ในขณะที่สัมพันธภาพในกลุ่มก็จะ
เป็นไปด้วยดี กล่าวคือ กลุ่มจะมีความเป็นอิสระโดยสมาชิกในกลุ่ม สามารถจัด
กระบวนการกลุ่มและสามารถแก้ปัญหาด้วยตัวของพวกเขาเอง ทั้งนี้ข้อมูล
ย้อนกลับจากครูหรือเพื่อนนักเรียนที่เป็นผู้สังเกตจะช่วยให้กลุ่มได้ดาเนินการได้
เป็นอย่างดีและประสิทธิภาพมากขึ้น
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
จัดทาโดย
นางสาวอรณิชา ธีรโรจน์ รหัสนักศึกษา 5615871039
แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/prapasara/khor
ngsrang-wicha

More Related Content

การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad

  • 3. 1. เป้ าหมายของกลุ่ม (Group Goal) เงื่อนไขนี้เป็นสิ่งจาเป็นอย่าง ยิ่งสาหรับผู้เรียน ทั้งนี้เพราะกลุ่มจาเป็นต้องให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้ ทราบเป้าหมายของกลุ่มในการร่วมมือกันทางาน ถ้าปราศจากเงื่อนไขข้อ นี้งานจะสาเร็จไม่ได้เลย
  • 4. 2. ความรับผิดชอบต่อตนเอง (Individual Accountability) สมาชิกในกลุ่มทุกคนจะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองเท่าๆกับ รับผิดชอบต่อกลุ่ม
  • 5. หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ใน การจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น สมาชิกในกลุ่มทุกคน ต้องปฏิบัติตามหลักการพื้นฐาน 5 ประการดังต่อไปนี้
  • 6. 1. การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก (Positive Interdependent) นักเรียนจะรู้สึกว่าตนเองจาเป็นจะต้องอาศัยผู้อื่นในการที่จะทางานกลุ่มให้สาเร็จ กล่าวคือ "ร่วมเป็นร่วมตาย" วิธีการที่จะทาให้เกิดความรู้สึกเช่นนี้อาจจะทาได้ โดยทาให้มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เช่น ถ้านักเรียนทาคะแนนกลุ่มได้สูงแต่ละคนจะ ได้รับรางวัลร่วมกัน ประเด็นที่สาคัญก็คือสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะต้องทางาน กลุ่มให้เป็นผลสาเร็จ ซึ่งความสาเร็จนี้จะขึ้นอยู่กับความร่วมมือร่วมใจของ สมาชิกทุกคน จะไม่มีการยอมรับความสาคัญหรือความสามารถของบุคคลเพียง คนเดียว
  • 7. 2. การติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรง (Face to Face Interaction) เนื่องจากการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเชิงบวก ผลดีที่จะเกิดขึ้นจากการพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันละกันนั้น จะต้องมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่าง นักเรียนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม ในการจัดการเรียนรู้แบบ STAD นั้น การสรุปเรื่อง การอธิบาย การขยายความในบทเรียนที่เรียนมาให้แก่เพื่อนในกลุ่มเป็นลักษณะ สัมพันธ์ของการติดต่อปฏิสัมพันธ์โดยตรงการจัดการเรียนรู้แบบ STAD
  • 8. 3. การรับผิดชอบงานกลุ่มของกลุ่ม (Individual Accountability at Group Work) การจัดการเรียนรู้ แบบ STAD จะถือว่าไม่สาเร็จจนกว่าสมาชิกทุกคนในกลุ่มจะได้ เรียนรู้เรื่องในบทเรียนได้ทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจาเป็นต้องวัดผลการเรียน ของแต่ละคนเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มได้ช่วยเหลือเพื่อนที่เรียนไม่เก่ง
  • 9. 4. ทักษะในความสัมพันธ์กับกลุ่มเล็กและผู้อื่น(Social skills) นักเรียนทุก คนไม่ได้มาโรงเรียนพร้อมกับทักษะในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น เพราะฉะนั้น จึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะช่วยนักเรียนในการสื่อสารการเป็นผู้นา การไว้ใจผู้อื่น การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง เพราะการจัดการเรียนรู้แบบ STAD ไม่ได้หมายถึงแต่เพียงการที่จัดให้นักเรียนมานั่งทางานเป็นกลุ่มเท่านั้น จาก ทักษะการทางานกลุ่มนี้เองที่จะทาให้นักเรียนช่วยเหลือ เอื้ออาทรในการถ่ายถอด ความรู้ซึ่งกันและกัน และมีการร่วมมือในกลุ่ม ดังนั้นทุกคนจึงเกิดการเรียนรู้ที่จะ มีส่วนร่วมในการทางานให้กลุ่มได้รับความสาเร็จ
  • 10. 5. กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กระบวนการกลุ่ม หมายถึง การให้นักเรียนมีเวลาและใช้กระบวนการในการวิเคราะห์ว่ากลุ่มทางานได้ เพียงใด และสามารถใช้ทักษะสังคมและมนุษยสัมพันธ์ได้เหมาะสม กระบวนการ กลุ่มนี้จะช่วยให้สมาชิกในกลุ่มทางานได้ผล ในขณะที่สัมพันธภาพในกลุ่มก็จะ เป็นไปด้วยดี กล่าวคือ กลุ่มจะมีความเป็นอิสระโดยสมาชิกในกลุ่ม สามารถจัด กระบวนการกลุ่มและสามารถแก้ปัญหาด้วยตัวของพวกเขาเอง ทั้งนี้ข้อมูล ย้อนกลับจากครูหรือเพื่อนนักเรียนที่เป็นผู้สังเกตจะช่วยให้กลุ่มได้ดาเนินการได้ เป็นอย่างดีและประสิทธิภาพมากขึ้น