ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โดยหลักการแล้ว ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่ทางานตามหน้าที่ 3 ส่วน
ด้วยกัน คือ
1. ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
2. ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3. ส่วนแสดงผล (Output Unit)
1. ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อ
ข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อ ทาการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจาก
อุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัส ดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเองอุปกรณ์
ส่วนรับข้อมูล ได้แก่
คีย์บอร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse)
- สแกนเนอร์ (scanner) - อุปกรณ์สแกนลายนิ้วมือ (finger scan)
- ไมโครโฟน(microphone) - กล้องเว็บแคม (webcam)
อุปกรณ์ใน ส่วนรับข้อมูล ยังมีอีกมากมายและสามารถจะยังมีเพิ่มตามขึ้นไปเรื่อยๆ ตามการพัฒนาด้าน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Joy Pad
จัดเป็นอุปกรณ์ Input Device อีกประเภทหนึ่งทาหน้าที่คล้าย Mouse แต่มีไว้สาหรับเล่นเกมส์ ซึ่ง ผู้ผลิต
Game Pad หรือ Joystick จะทาการออกแบบลักษณะของ Game Pad เพื่อให้ ผู้ใช้รู้สึกสนุกและสมจริงกับ
การเล่นเกม โดยจะมีปุ่มที่ ต่างกันแล้วแต่วัตถุประสงค์ของ ผู้เล่น เพราะสามารถกาหนดหน้าที่ให้กับปุ่ม
แต่ละปุ่มได้
2. ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่
รับมาจาก ส่วนรับข้อมูล(Input Unit) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ อีกทั้งยังทาหน้าที่ในการควบคุมการ
ทางานต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor), ชิป (Chip), โพรเซสเซอร์ (Processor)
มีหน้าที่นาคาสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจามาแปลความหมาย และกระทาตามคาสั่งพื้นฐานของ
ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสองส่วนประกอบภายในเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน
จานวนมาก มีทรานซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจรหลายล้านตัว แต่ละชิ้นมีความกว้าง 0.35 ไมครอน ขณะที่
เส้นผมคนเรามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 ไมครอน ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่สะอาดมาก
เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) หรือ แผงวงจรหลัก เป็นหัวใจสาคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง เมื่อ
เปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางนอนอยู่ นั่นคือส่วนที่เรียกว่า “เมนบอร์ด”
3. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็น หน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วน
ประมวลผลข้อมูล โดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบ ด้วยกันคือ แบบที่สามารถเก็บไว้ดู
ภายหลังได้และแบบที่ไม่มีสาเนาเก็บไว้
- แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ เช่น เครื่องพิมพ์(Printer) และ เครื่องวาด (Plotter)
เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องวาด (Plotter)
- แบบที่ไม่มีสาเนาเก็บไว้ เช่น จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) และ ลาโพง (Speaker)
จอภาพ (monitor) เครื่องฉายภาพ (LCD Projector)
4. หน่วยความจา (Memory Unit
หน่วยความจา (Memory Unit) อุปกรณ์เก็บสถานะข้อมูล และชุดคาสั่ง เพื่อการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ หน่วยความจาชั่วคราวและหน่วยความจาถาวร
- หน่วยความจาชั่วคราว คือ แรม (RAM: Random Access Memory)เป็นหน่วยความจาที่ใช้ขณะ
คอมพิวเตอร์ทางาน ข้อมูลและชุดคาสั่งจะหายไปทุกครั้งที่เราปิดเครื่อง
RAM
- หน่วยความจาถาว รหรือ หน่วยความจาหลัก ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ Hard Disk ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
และ รอม (ROM: Read Only Memory) ที่ใช้ในการเก็บค่าไบออส หน่วยความจาถาวรจะใช้ในการเก็บข้อมูล
ของเครื่องคอมพิวเตอร์และจะไม่สูญหาย เมื่อ ปิดเครื่อง
Harddisk (ฮาร์ดดิสก์)
Hard Disk คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จาเป็นต้องมีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยง
ตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูกจัดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บ
ระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการอัพเกรดทาให้
เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควรคานึงซึ่ง
ประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk
อุปกรณ์ทั่วไป
พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์ มี
อุปกรณ์ต่อพวงเยอะ ๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวน
วัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพออุปกรณ์ชิ้นนี้ก็คือ แหล่งจ่ายไฟ หรือที่เรามักจะเรียกกัน
ว่า เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) นั่นเอง เพาเวอร์ซัพพลาย มีหน้าที่หลักก็คือ เปลี่ยน แรงดัน
กระแสสลับจากไฟบ้าน 220 โวลท์เอซี ให้เป็นแรงดัน ไฟตรงดีซี ที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟ
คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล หรือคอมพิวเตอร์พีซีนั้น ส่วนใหญ่จะบรรจุในเคสด้านหลัง ถ้ามองไปที่หลังเคส
จะเห็น กล่องเหล็กสี่เหลี่ยมมีช่องเสียบสายไฟและพัดลม เพื่อระบายความร้อน
IDE Cable Harddisk แบบ IDE
- IDE ( Integrated Drive Electronics)
เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่าน
สายแพรและคอนเน็คเตอร์จานวน 40 ขา ที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถ
ต่อฮาร์ดดิสก์ได้2 ตัวและบนเมน บอร์ด
Harddisk แบบ Serial ATA Serial ATA Cable
- Serial ATA (Advanced Technology Attachment)
เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York มี
ความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทางานได้เร็วมากในส่วน
ของ extreme application เช่นGame Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมา
แทนที่ของ IDE ในปัจจุบัน
Modem
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณ Analog ไปเป็น สัญญาณ Digital และ จาก Digital ไปเป็นสัญญาณ
Analog ซึ่งใน คอมพิวเตอร์นั้นจะมีลักษณะสัญญาณเป็นแบบ Digital ดังนั้นจึงต้อง ใช้ Modem ในการแปลง
สัญญาณเพื่อที่จะสามารถส่งสัญญาณไปบน สายโทรศัพท์ ธรรมดาได้วัตถุประสงค์ของ Modem คือใช้ใน
การ เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะทางไกล ๆ ซึ่งที่พบเห็น การคือการเชื่อมต่อ Internet จาก
บ้านไปยังผู้ให้บริการ Internet (ISP Internet Service Provider) ซึ่งในปัจจุบันได้มีการนาเทค โนโล
ยี ADSL ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อ ด้วยสัญญาณ Digitalโดยต้องใช้ กับ DigitalModem หรือ ADSL Modem ซึ่งจะ
มีความเร็วใน การเชื่อมต่อ ตั้งแต่ 128 Kbit/Sec ขึ้นไป ซึ่งModem แบบ Analog ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มี
ความเร็วสูงสุดที่ 56 Kbit/Sec และ Modem ยังแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือแบบติดตั้งภายใน (Internal
Modem) ซึ่งจะเสียบบน ISA Slot หรือ PCI Slot ภายในเครื่อง ราคาถูก อีกแบบ คือแบบติดตั้งภายนอกซึ่งที่
พบเห็นบ่อย จะมี 2 แบบ คือต่อผ่าน Serial Port (COM Port) และ แบบต่อ ผ่าน USB Port (Universal Serial
Bus) ซึ่งมีราคาที่แพงกว่า แบบติดตั้งภายในแต่สะดวกในการเคลื่อนย้าย และไม่สร้างปัญหาเรื่อง ความร้อน
ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
การ์ดแลน (Network Card)
Network Card หรือบางครั้งเรียกว่า LAN Card เป็นการ์ดที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบ
เครือข่าย โดยการนาคอมพิวเตอร์มาต่อเชื่อมกันผ่าน LAN Card ซึ่งบางครั้งอาจต้องมีอุปกรณ์อื่นเสริม
เช่น HUB, Switching, Rounter เป็นต้น ขึ้นอยู่กับขนาดขององค์กร และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน ความเร็ว
จะมีตั้งแต่ 10 Mbit/sec จนถึงระดับ Gbit/bit ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์และระบบเครือข่ายที่ใช้ ว่าเป็นแบบ Bus,
Star, Ethernet, Ring, ATM, ISDN เป็นต้น
พัดลมซีพียู (CPU Fan)
พัดลม CPU นับเป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่ต้องเลือกให้ดีเพราะเนื่องจากCPU มี ความร้อนสูงการเลือกพัดลมที่
ไม่เหมาะกับการ CPU อาจเกิด ความเสียหายต่อ CPU หรือทาให้ระบบคอมฯไม่มีเสถียรภาพ ได้ปัจจุบัน พัด
ลม CPU ได้ถูกออกแบบมาเฉพาะกับ CPU แต่ละรุ่น ซึ่งจะมีรูปร่าง และวัสดุที่ใช้ทาต่างกัน มีการนา
ทองแดงมา ใช้เป็นวัสดุ ในการทาแทน อลูมิเนียม เพื่อช่วยระบายความร้อน ใส่พัดลมที่มีกาลังแรงและมี
ขนาดใหญ่มีการออกแบบครีบให้มากเพื่อ ช่วยระบายความ ร้อน

More Related Content

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

  • 1. โดยหลักการแล้ว ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่ทางานตามหน้าที่ 3 ส่วน ด้วยกัน คือ 1. ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) 2. ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) 3. ส่วนแสดงผล (Output Unit) 1. ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อ ข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อ ทาการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจาก อุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัส ดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเองอุปกรณ์ ส่วนรับข้อมูล ได้แก่ คีย์บอร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse)
  • 2. - สแกนเนอร์ (scanner) - อุปกรณ์สแกนลายนิ้วมือ (finger scan) - ไมโครโฟน(microphone) - กล้องเว็บแคม (webcam) อุปกรณ์ใน ส่วนรับข้อมูล ยังมีอีกมากมายและสามารถจะยังมีเพิ่มตามขึ้นไปเรื่อยๆ ตามการพัฒนาด้าน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ Joy Pad จัดเป็นอุปกรณ์ Input Device อีกประเภทหนึ่งทาหน้าที่คล้าย Mouse แต่มีไว้สาหรับเล่นเกมส์ ซึ่ง ผู้ผลิต Game Pad หรือ Joystick จะทาการออกแบบลักษณะของ Game Pad เพื่อให้ ผู้ใช้รู้สึกสนุกและสมจริงกับ การเล่นเกม โดยจะมีปุ่มที่ ต่างกันแล้วแต่วัตถุประสงค์ของ ผู้เล่น เพราะสามารถกาหนดหน้าที่ให้กับปุ่ม แต่ละปุ่มได้
  • 3. 2. ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ รับมาจาก ส่วนรับข้อมูล(Input Unit) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ อีกทั้งยังทาหน้าที่ในการควบคุมการ ทางานต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor), ชิป (Chip), โพรเซสเซอร์ (Processor) มีหน้าที่นาคาสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจามาแปลความหมาย และกระทาตามคาสั่งพื้นฐานของ ไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสองส่วนประกอบภายในเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน จานวนมาก มีทรานซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจรหลายล้านตัว แต่ละชิ้นมีความกว้าง 0.35 ไมครอน ขณะที่ เส้นผมคนเรามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 ไมครอน ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่สะอาดมาก เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) หรือ แผงวงจรหลัก เป็นหัวใจสาคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง เมื่อ เปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางนอนอยู่ นั่นคือส่วนที่เรียกว่า “เมนบอร์ด”
  • 4. 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็น หน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วน ประมวลผลข้อมูล โดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบ ด้วยกันคือ แบบที่สามารถเก็บไว้ดู ภายหลังได้และแบบที่ไม่มีสาเนาเก็บไว้ - แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ เช่น เครื่องพิมพ์(Printer) และ เครื่องวาด (Plotter) เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องวาด (Plotter) - แบบที่ไม่มีสาเนาเก็บไว้ เช่น จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) และ ลาโพง (Speaker) จอภาพ (monitor) เครื่องฉายภาพ (LCD Projector) 4. หน่วยความจา (Memory Unit หน่วยความจา (Memory Unit) อุปกรณ์เก็บสถานะข้อมูล และชุดคาสั่ง เพื่อการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ หน่วยความจาชั่วคราวและหน่วยความจาถาวร
  • 5. - หน่วยความจาชั่วคราว คือ แรม (RAM: Random Access Memory)เป็นหน่วยความจาที่ใช้ขณะ คอมพิวเตอร์ทางาน ข้อมูลและชุดคาสั่งจะหายไปทุกครั้งที่เราปิดเครื่อง RAM - หน่วยความจาถาว รหรือ หน่วยความจาหลัก ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ Hard Disk ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และ รอม (ROM: Read Only Memory) ที่ใช้ในการเก็บค่าไบออส หน่วยความจาถาวรจะใช้ในการเก็บข้อมูล ของเครื่องคอมพิวเตอร์และจะไม่สูญหาย เมื่อ ปิดเครื่อง Harddisk (ฮาร์ดดิสก์) Hard Disk คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จาเป็นต้องมีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยง ตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูกจัดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการอัพเกรดทาให้ เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควรคานึงซึ่ง ประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk
  • 6. อุปกรณ์ทั่วไป พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์ มี อุปกรณ์ต่อพวงเยอะ ๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจานวน วัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพออุปกรณ์ชิ้นนี้ก็คือ แหล่งจ่ายไฟ หรือที่เรามักจะเรียกกัน ว่า เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) นั่นเอง เพาเวอร์ซัพพลาย มีหน้าที่หลักก็คือ เปลี่ยน แรงดัน กระแสสลับจากไฟบ้าน 220 โวลท์เอซี ให้เป็นแรงดัน ไฟตรงดีซี ที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟ คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล หรือคอมพิวเตอร์พีซีนั้น ส่วนใหญ่จะบรรจุในเคสด้านหลัง ถ้ามองไปที่หลังเคส จะเห็น กล่องเหล็กสี่เหลี่ยมมีช่องเสียบสายไฟและพัดลม เพื่อระบายความร้อน IDE Cable Harddisk แบบ IDE - IDE ( Integrated Drive Electronics) เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่าน สายแพรและคอนเน็คเตอร์จานวน 40 ขา ที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถ ต่อฮาร์ดดิสก์ได้2 ตัวและบนเมน บอร์ด
  • 7. Harddisk แบบ Serial ATA Serial ATA Cable - Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York มี ความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทางานได้เร็วมากในส่วน ของ extreme application เช่นGame Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมา แทนที่ของ IDE ในปัจจุบัน Modem เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณ Analog ไปเป็น สัญญาณ Digital และ จาก Digital ไปเป็นสัญญาณ Analog ซึ่งใน คอมพิวเตอร์นั้นจะมีลักษณะสัญญาณเป็นแบบ Digital ดังนั้นจึงต้อง ใช้ Modem ในการแปลง สัญญาณเพื่อที่จะสามารถส่งสัญญาณไปบน สายโทรศัพท์ ธรรมดาได้วัตถุประสงค์ของ Modem คือใช้ใน การ เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระยะทางไกล ๆ ซึ่งที่พบเห็น การคือการเชื่อมต่อ Internet จาก บ้านไปยังผู้ให้บริการ Internet (ISP Internet Service Provider) ซึ่งในปัจจุบันได้มีการนาเทค โนโล ยี ADSL ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อ ด้วยสัญญาณ Digitalโดยต้องใช้ กับ DigitalModem หรือ ADSL Modem ซึ่งจะ มีความเร็วใน การเชื่อมต่อ ตั้งแต่ 128 Kbit/Sec ขึ้นไป ซึ่งModem แบบ Analog ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มี ความเร็วสูงสุดที่ 56 Kbit/Sec และ Modem ยังแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือแบบติดตั้งภายใน (Internal Modem) ซึ่งจะเสียบบน ISA Slot หรือ PCI Slot ภายในเครื่อง ราคาถูก อีกแบบ คือแบบติดตั้งภายนอกซึ่งที่
  • 8. พบเห็นบ่อย จะมี 2 แบบ คือต่อผ่าน Serial Port (COM Port) และ แบบต่อ ผ่าน USB Port (Universal Serial Bus) ซึ่งมีราคาที่แพงกว่า แบบติดตั้งภายในแต่สะดวกในการเคลื่อนย้าย และไม่สร้างปัญหาเรื่อง ความร้อน ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ การ์ดแลน (Network Card) Network Card หรือบางครั้งเรียกว่า LAN Card เป็นการ์ดที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบ เครือข่าย โดยการนาคอมพิวเตอร์มาต่อเชื่อมกันผ่าน LAN Card ซึ่งบางครั้งอาจต้องมีอุปกรณ์อื่นเสริม เช่น HUB, Switching, Rounter เป็นต้น ขึ้นอยู่กับขนาดขององค์กร และวัตถุประสงค์ในการใช้งาน ความเร็ว จะมีตั้งแต่ 10 Mbit/sec จนถึงระดับ Gbit/bit ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์และระบบเครือข่ายที่ใช้ ว่าเป็นแบบ Bus, Star, Ethernet, Ring, ATM, ISDN เป็นต้น พัดลมซีพียู (CPU Fan) พัดลม CPU นับเป็นอีกหนึ่งอุปกรณ์ที่ต้องเลือกให้ดีเพราะเนื่องจากCPU มี ความร้อนสูงการเลือกพัดลมที่ ไม่เหมาะกับการ CPU อาจเกิด ความเสียหายต่อ CPU หรือทาให้ระบบคอมฯไม่มีเสถียรภาพ ได้ปัจจุบัน พัด ลม CPU ได้ถูกออกแบบมาเฉพาะกับ CPU แต่ละรุ่น ซึ่งจะมีรูปร่าง และวัสดุที่ใช้ทาต่างกัน มีการนา ทองแดงมา ใช้เป็นวัสดุ ในการทาแทน อลูมิเนียม เพื่อช่วยระบายความร้อน ใส่พัดลมที่มีกาลังแรงและมี ขนาดใหญ่มีการออกแบบครีบให้มากเพื่อ ช่วยระบายความ ร้อน