ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ประวัติการลอยกระทง
นายนัฐพล หลานอาว
รหัส 5421302117
ออกแบบประยุกต์ศิลป
กำา หนดวัน ลอยกระทง 
          วันลอยกระทงของทุกปีจะตรงกับวัน
ขึน 15 คำ่า เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติ
้
ไทย หรือถ้าเป็นปฏิทินจันทรคติล้านนาจะ
ตรงกับเดือนยี่ และหากเป็นปฏิทินสุริยคติจะ
ราวเดือนพฤศจิกายน ซึ่งเดือน 12 นี้เป็น
ช่วงต้นฤดูหนาว อากาศจึงเย็นสบาย และอยู่
ในช่วงฤดูนำ้าหลาก มีนำ้าขึ้นเต็มฝั่ง ทำาให้
เห็นสายนำ้าอย่างชัดเจน อีกทั้งวันขึน 15 คำ่า
้
เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวง ทำาให้สามารถ
เห็นแม่นำ้าที่มีแสงจันทร์ส่องกระทบลงมา เป็น
 ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐาน

ระบุแน่ชัดว่าเริ่มตังแต่เมื่อใด แต่เชือว่า
้
่
ประเพณีนี้ได้สบต่อกันมายาวนานตังแต่
ื
้
สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุน
รามคำาแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนี้
ว่า "พิธ ีจ องเปรีย ญ" หรือ "การลอย
พระประทีป " และมีหลักฐานจากศิลา
จารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียน
เล่นไฟว่าเป็นงานรื่นเริงทีใหญ่ทสดของ
่
ี่ ุ
ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอย
โคม โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยูหัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธี
่
ลอยกระทงเป็นพิธของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อ
ี
บูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระ
นารายณ์ และพระพรหม ต่อมาได้นำา
พระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการ
ชักโคม เพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และ
ลอยโคมเพื่อบูชารอยพระบาทของ
พระพุทธเจ้า 
          ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬา
เหตุผ ลและความเชือ ของการลอยกระทง  
่

          สาเหตุที่มีประเพณีลอยกระทงขึ้นนั้น เกิดจาก
ความเชื่อหลาย ๆ ประการของแต่ละท้องที่ ได้แก่  
          1.เพื่อแสดงความสำานึกถึงบุญคุณของแม่นำ้าทีให้
่
เราได้อาศัยนำ้ากิน นำ้าใช้ ตลอดจนเป็นการขอขมาต่อพระ
แม่คงคา ทีได้ทิ้งสิ่งปฏิกลต่าง ๆ ลงaไปในนำ้า อันเป็น
่
ู
สาเหตุให้แหล่งนำ้าไม่สะอาด 
          2.เพื่อเป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท เมือ
่
คราวที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงธรรมโปรดในนาคพิภพ
และได้ทรงประทับรอยพระบาทไว้บนหาดทรายแม่นำ้านัมม
ทานที ซึ่งเป็นแม่นำ้าสายหนึงอยู่ในแคว้นทักขิณาบถของ
่
ประเทศอินเดีย ปัจจุบันเรียกว่าแม่นำ้าเนรพุทท 
          3.เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ เพราะการลอย
กระทงเปรียบเหมือนการลอยความทุกข์ ความโศกเศร้า
4.เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุต ที่ชาวไทยภาคเหนือ
ให้ความเคารพ ซึ่งบำาเพ็ญเพียรบริกรรมคาถาอยู่
ในท้องทะเลลึกหรือสะดือทะเล โดยมีตำานานเล่าว่า
พระอุปคุตเป็นพระมหาเถระรูปหนึ่งที่มีอิทธิฤทธิ์
มาก สามารถปราบพญามารได้  
 5.เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมของไทยไว้มิให้
สูญหายไปตามกาลเวลา และยังเป็นการส่งเสริม
การท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นทั้งชาวไทยและชาวต่าง
ประเทศ 
 6.เพื่อความบันเทิงเริงใจ เนื่องจากการลอย
กระทงเป็นการนัดพบปะสังสรรค์กันในหมู่ผู้ไปร่วม
งาน 
ประเพณีล อยกระทงในแต่ล ะภาค  
          ลักษณะการจัดงานลอยกระทงของ
แต่ละจังหวัด และแต่ละภาคจะมีเอกลักษณ์ที่
แตกต่างกัน 
ภาคเหนือ (ตอนบน) จะเรียกประเพณีลอย
กระทงว่า "ยีเ ป็ง " อันหมายถึงการทำาบุญใน
่
วันเพ็ญเดือนยี่  (เดือนยีถ้านับตามล้านนาจะ
่
ตรงกับเดือนสิบสองในแบบไทย) โดยชาว
เหนือจะนิยมประดิษฐ์โคมลอย หรือที่เรียกว่า
"ว่าวฮม" หรือ "ว่าวควัน" โดยการใช้ผ้า
บางๆ แล้วสุมควันข้างใต้ ให้โคมลอยขึนไป
้
ในอากาศ เพื่อเป็นการบูชาพระอุปคุตต์ ซึง
่
เชื่อกันว่าท่านบำาเพ็ญบริกรรมคาถาอยูใน
่
 จัง หวัด ตาก 
จะประดิษฐ์กระทงขนาดเล็ก แล้วปล่อยลอย
ไปพร้อม ๆ กัน เพื่อให้เรียงรายเป็นสาย
เรียกว่า "กระทงสาย “
 
จัง หวัด สุโ ขทัย  เป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีชื่อเสียงใน
เรื่องประเพณีลอยกระทง ด้วยความเป็นจังหวัดต้น
กำาเนิดของประเพณีนี้ โดยการจัดงาน ลอย
กระทงเผาเทีย นเล่น ไฟ  ที่จังหวัดสุโขทัยถูก
ฟื้นฟูกลับมาอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ.2520 ซึ่ง
จำาลองบรรยากาศงานมาจากงานลอยกระทงสมัย
กรุงสุโขทัย และหลังจากนั้นก็มีการจัดงานลอย
กระทงเผาเทียนเล่นไฟขึ้นที่จังหวัดสุโขทัยทุก ๆ ปี
มีทั้งการจัดขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุ
ตะไล และไฟพะเนียง 
ภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนือ  งานลอย
กระทงจะเรีย กว่า เทศกาลไหลเรือ
ไฟ โดยจัดเป็นประเพณียิ่งใหญ่ทุกปีใน
จังหวัดนครพนม มีการนำาหยวกกล้วย หรือ
วัสดุต่าง ๆ มาตกแต่งเรือ และประดับไฟ
อย่างสวยงาม และตอนกลางคืนจะมีการจุด
กรุง เทพมหานคร  มีการจัดงานลอย
กระทงหลายแห่ง แต่ที่เป็นไฮไลท์อยู่
ที่ "งานภูเ ขาทอง" ที่จะเนรมิตงานวัดเพื่อ
เฉลิมฉลองประเพณีลอยกระทง ส่วนใหญ่จัด
อยูราว 7-10 วัน ตั้งแต่ก่อนวันลอยกระทง
่
จนถึงหลังวันลอยกระทง
ภาคใต้ มีการจัดงานลอยกระทงใน
หลาย ๆ จังหวัด เช่น อำาเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา ที่มงานยิ่งใหญ่ทกปี 
ี
ุ
กิจ กรรมในวัน ลอยกระทง  
          ในปัจจุบันมีการจัดงานลอยกระทงทุก ๆ
จังหวัด ซึ่งจะมีกิจกรรมแตกต่างกันไปในแต่ละ
สถานที่ แต่กิจกรรมที่มีเหมือน ๆ กันก็คือ การ
ประดิษ ฐ์ก ระทง โดยนำา วัส ดุต า ง ๆ ทั้ง หยวก
่
กล้ว ย ใบตอง หรือ จะเป็น กาบพลับ พลึง
เปลือ กมะพร้า ว ฯลฯ มาประดับ ตกแต่ง ด้ว ย
ดอกไม้ ธูป เทีย น เครื่อ งสัก การบูช า ให้เ ป็น
กระทงที่ส วยงาม ภายหลังมีการใช้วัสดุโฟมที่
สามารถประดิษฐ์กระทงได้ง่าย แต่จะทำาให้เกิด
ขยะที่ย่อยสลายยากขึ้น จึงมีการรณรงค์ให้เลิกใช้
 
เมื่อไปถึงสถานที่ลอยกระทง ก่อน
ทำาการลอยก็จะอธิษฐานในสิ่งที่ปรารถนาขอ
ให้ประสบความสำาเร็จ หรือเสี่ยงทายในสิ่ง
ต่าง ๆ จากนั้นจึงปล่อยกระทงให้ลอยไปตาม
สายนำ้า และในกระทงมักนิยมใส่เงินลงไป
ด้วย เพราะเชือกันว่าเป็นการบูชาพระแม่
่
คงคา 
         
นอกจากการลอยกระทงแล้ว มักมี
กิจกรรมประกวดนางนพมาศอันเป็น
สัญลักษณ์หนึ่งของประเพณีลอยกระทง และ
ตามสถานที่จัดงานจะมีก ารประกวด
กระทง ขบวนแห่ มหรสพสมโภชต่า ง ๆ
บางแห่ง อาจมีก ารจุด พลุ ดอกไม้ไ ฟ
เฉลิม ฉลองด้ว ย  
เพลงประจำา เทศกาลลอยกระทง  
          เมื่อเราได้ยินเพลง "รำา วงลอยกระทง"
ที่ข ึ้น ต้น ว่า "วัน เพ็ญ เดือ นสิบ สอง นำ้า นอง
เต็ม ตลิง ..." นั่น เป็น สัญ ญาณว่า ใกล้จ ะถึง
่
วัน ลอยกระทงแล้ว  ซึ่งเพลงนี้เป็นที่คุ้นหูของทั้ง
ชาวไทย และชาวต่างชาติ เพราะในต่างประเทศ
มักเปิดเพลงนี้ต้อนรับนักท่องเที่ยว เพื่อแสดงถึง
ความเป็นประเทศไทย
 
เพลงรำาวงวันลอยกระทงแต่งโดยครูแก้ว
อัจฉริยกุล ผู้ให้ทำานองคือ ครูเอื้อ สุนทร
สนาน แห่งสุนทราภรณ์ ซึงครูเอื้อได้แต่ง
่
เพลงนี้ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2498 ขณะที่ได้ไป
บรรเลงเพลงที่บริเวณคณะบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมีผู้ขอเพลง
จากครูเอื้อ ครูเอื้อจึงนั่งแต่งเพลงนี้ที่ริมแม่นำ้า
เจ้าพระยา ในระยะเวลาเพียงครึ่งชั่วโมงจึง
เกิดเป็นเพลง "รำาวงลอยกระทง" ที่ติดหูกัน
มาทุกวันนี้
เพลงลอยกระทง
วันเพ็ญเดือนสิบสอง นำ้านองเต็ม
ตลิ่ง  
          เราทั้งหลายชายหญิง  
          สนุกกันจริง วันลอยกระทง  
          ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง  
          ลอยกระทงกันแล้ว  
          ขอเชิญน้องแก้วออกมารำาวง  
          รำาวงวันลอยกระทง รำาวงวันลอย
กระทง  
ประวัติการลอยกระทง นัฐพล

More Related Content

ประวัติการลอยกระทง นัฐพล