ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน..แผ่นดินไหว
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 น.ส.ปรางวลัย ขันธะ เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2 น.ส.ปฏิมาพร ชัยชื่น เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1- 2 ปีการศึกษา 2559
ที่มา และความสาคัญ
ที่มาของโครงงานเรื่องน่ารู้ แผ่นดินไหวนี้เกิดขึ้นจากภัยพิบัติทางธรรมชาติตอนนี้ที่มีความรุนแรงเพิ่มมาก
ขึ้น ส่งผลกระทบกับมนุษย์และสัตว์มากมายแล้วจากการศึกษาวิชา ภูมิศาสตร์ เป็นวิชาที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ
วิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพซึ่งประกอบด้วย ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดิน น้า พืช ตาม
ธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น สิ่งต่างๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวเรานั้นล้วนมีผลต่อการดาเนินชีวิต ของมนุษย์เมื่อเรามี
ความรู้เรื่องทางภัยพิบัติแล้วเราจะเข้าใจการเป็นไปของธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมรอบตัว ความสาคัญของ
ภูมิศาสตร์ได้อธิบายภูมิทัศน์ของโลกทาให้เราได้รับรู้ถึง กระบวนการทางภูมิศาสตร์การเข้าใจภูมิศาสตร์ อย่าง
ถูกต้องนั้น จะทาให้เราทราบถึงแหล่งที่มาและการดาลงชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์และวิธี
ป้องกันตัวเองจากภัยพิบัติที่เกี่ยวกับแผ่นดินไหวในแต่ท้องที่อย่างเข้าใจโดยไม่ ส่งผลใดๆ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้รู้ภัยธรรมชาติที่อยู่รอบตัว
2.เพื่อให้ได้รับรู้สาเหตุของการเกิดภัยพิบัติ
3.เพื่อให้เห็นถึงความรุนแรงที่เพิ่มมากขึ้น
4.เพื่อให้ได้รู้วิธีป้องกันตัวเองจากภัยพิบัติ
5.เพื่อให้ได้ความรู้ทางภูมิศาสตร์และภัยพิบัติทางธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
เกี่ยวกับเรื่องทางภูมิศาสตร์และภัยจากแผ่นดินไหว
หลักการและทฤษฎี
1. คาจากัดความที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัติ
ในกระบวนวิธีการศึกษาพื้นฐาน เพื่อการคาดคะเนการเกิดภัยพิบัติ การประเมินงานด้านภัยพิบัติ การศึกษาความ
เปราะบางขององค์ประกอบที่จะได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ ความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ หรือการสร้างสื่อความรู้ต่างๆ
ด้านภัยพิบัติ นั้น มีความจาเป็นที่จะต้องทาความเข้าใจถึงความหมายและนิยามที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัติ อย่างถ่องแท้
และเป็นไปในทิศทางเดียวกันเสียก่อน เพื่อนาไปสู่การกาหนดรูปแบบ วิธีการ และองค์ประกอบที่สาคัญในการ
ป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ การนาไปใช้ เข้าใจพื้นฐานในการจัดทาแผนที่เสี่ยงภัยพิบัติ รวมทั้งการกาหนดเขตภัย
พิบัติ เพื่อนาไปสู่การบริหารจัดการภัยพิบัติ และการวางแผนผังเมืองที่สามารถใช้ประโยชน์จากแผนผังเหล่านั้นได้
อย่างถูกต้อง
2.ภัยพิบัติ (Disaster)
หมายถึง เหตุการณ์หรือสภาวะที่ไม่เป็นปกติของสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการดารงอยู่ของชุมชน ทาความ
เสียหายอย่างกว้างขวางต่อมนุษย์เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ขนาดชุมชนเล็กหรือใหญ่ เป็นตัวกาหนดความ
รุนแรงและผลกระทบของภัยพิบัติ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติหรือมนุษย์เป็นผู้กระทาให้
เกิดขึ้น ภัยพิบัติอาจเกิดขึ้นได้อย่างเฉียบพลัน เกิดขึ้นอย่างฉุกเฉิน มีผลกระทบในระยะสั้นๆ หรืออาจเกิดสะสมมา
เป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วจึงมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องยาวนานก็ได้ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบและลักษณะของความ
ผิดปกติที่เกิดขึ้นนั้นๆประเภทของภัยพิบัติที่เกิดขึ้น
3.ภัยอันตราย (Hazard)
หมายถึงเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติ หรือจากกิจกรรมของมนุษย์หรือสิ่งอื่นใด ที่สามารถสร้างความ
เสียหายต่อร่างกาย ชีวิต ทรัพย์สิน หรือความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อม
4.ภัยธรรมชาติ (Natural Disaster)
หมายถึง ภัยอันตรายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และมีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์และถ้าภัย
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นนั้นมีความรุนแรงหรือเป็นมหันตภัยที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันเป็นการนามาซึ่งการทาลายล้างทั้งชีวิต
และทรัพย์สิน และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม โดยยากที่จะคาดการณ์ได้จะเรียกว่า “ภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ” (Webster’s New Encyclopedic Dictionary, 1994)
ภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์หรือมนุษย์มีความเกี่ยวข้อง (Human-Related or Man-Made Disaster)
หมายถึง ภัยอันตรายต่าง ๆ ที่มีสาเหตุเกิดขึ้นจากมนุษย์หรือ มนุษย์มีความเกี่ยวข้องทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม และ
มีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง
วิธีการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อโครงงานเรื่องที่สนใจ
2.ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมลู
3รวบรวมข้อมูลที่ได้
4. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา
5.จัดทาโครงงาน
6.เสนอโครงงานแก่ครูที่ปรึกษา
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.หนังสือภัยพิบัติธรรมชาติแผ่นดินไหว
2.อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / /
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / / /
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
/ / / / / / /
5 ปรับปรุงทดสอบ / /
6 การทาเอกสารรายงาน / / / /
7 ประเมินผลงาน / /
8 นาเสนอโครงงาน / / /
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระสังคมศึกษา หน่วยภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หน่วยผลกระทบกับธรรมชาติ
เอกสารอ้างอิง
http://all-that-is-interesting.com/the-most-devastating-natural-disasters-of-the-21st
http://rangsaritster.blogspot.com/2010/10/blog-post.html
http://www.dmr.go.th/main.php?filename=case_eq
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E
0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A7
http://guru.sanook.com/2264/
https://www.dek-d.com/studyabroad/34596/

More Related Content

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิว๶ตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา โครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน..แผ่นดินไหว ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 น.ส.ปรางวลัย ขันธะ เลขที่ 11 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2 น.ส.ปฏิมาพร ชัยชื่น เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1- 2 ปีการศึกษา 2559
  • 2. ที่มา และความสาคัญ ที่มาของโครงงานเรื่องน่ารู้ แผ่นดินไหวนี้เกิดขึ้นจากภัยพิบัติทางธรรมชาติตอนนี้ที่มีความรุนแรงเพิ่มมาก ขึ้น ส่งผลกระทบกับมนุษย์และสัตว์มากมายแล้วจากการศึกษาวิชา ภูมิศาสตร์ เป็นวิชาที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับ วิถีการดาเนินชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพซึ่งประกอบด้วย ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ดิน น้า พืช ตาม ธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น สิ่งต่างๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวเรานั้นล้วนมีผลต่อการดาเนินชีวิต ของมนุษย์เมื่อเรามี ความรู้เรื่องทางภัยพิบัติแล้วเราจะเข้าใจการเป็นไปของธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อมรอบตัว ความสาคัญของ ภูมิศาสตร์ได้อธิบายภูมิทัศน์ของโลกทาให้เราได้รับรู้ถึง กระบวนการทางภูมิศาสตร์การเข้าใจภูมิศาสตร์ อย่าง ถูกต้องนั้น จะทาให้เราทราบถึงแหล่งที่มาและการดาลงชีวิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์และวิธี ป้องกันตัวเองจากภัยพิบัติที่เกี่ยวกับแผ่นดินไหวในแต่ท้องที่อย่างเข้าใจโดยไม่ ส่งผลใดๆ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้รู้ภัยธรรมชาติที่อยู่รอบตัว 2.เพื่อให้ได้รับรู้สาเหตุของการเกิดภัยพิบัติ 3.เพื่อให้เห็นถึงความรุนแรงที่เพิ่มมากขึ้น 4.เพื่อให้ได้รู้วิธีป้องกันตัวเองจากภัยพิบัติ 5.เพื่อให้ได้ความรู้ทางภูมิศาสตร์และภัยพิบัติทางธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น ขอบเขตโครงงาน เกี่ยวกับเรื่องทางภูมิศาสตร์และภัยจากแผ่นดินไหว หลักการและทฤษฎี 1. คาจากัดความที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัติ ในกระบวนวิธีการศึกษาพื้นฐาน เพื่อการคาดคะเนการเกิดภัยพิบัติ การประเมินงานด้านภัยพิบัติ การศึกษาความ เปราะบางขององค์ประกอบที่จะได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติ ความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ หรือการสร้างสื่อความรู้ต่างๆ ด้านภัยพิบัติ นั้น มีความจาเป็นที่จะต้องทาความเข้าใจถึงความหมายและนิยามที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัติ อย่างถ่องแท้ และเป็นไปในทิศทางเดียวกันเสียก่อน เพื่อนาไปสู่การกาหนดรูปแบบ วิธีการ และองค์ประกอบที่สาคัญในการ ป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ การนาไปใช้ เข้าใจพื้นฐานในการจัดทาแผนที่เสี่ยงภัยพิบัติ รวมทั้งการกาหนดเขตภัย พิบัติ เพื่อนาไปสู่การบริหารจัดการภัยพิบัติ และการวางแผนผังเมืองที่สามารถใช้ประโยชน์จากแผนผังเหล่านั้นได้ อย่างถูกต้อง
  • 3. 2.ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง เหตุการณ์หรือสภาวะที่ไม่เป็นปกติของสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบรุนแรงต่อการดารงอยู่ของชุมชน ทาความ เสียหายอย่างกว้างขวางต่อมนุษย์เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ขนาดชุมชนเล็กหรือใหญ่ เป็นตัวกาหนดความ รุนแรงและผลกระทบของภัยพิบัติ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติหรือมนุษย์เป็นผู้กระทาให้ เกิดขึ้น ภัยพิบัติอาจเกิดขึ้นได้อย่างเฉียบพลัน เกิดขึ้นอย่างฉุกเฉิน มีผลกระทบในระยะสั้นๆ หรืออาจเกิดสะสมมา เป็นระยะเวลาหนึ่ง แล้วจึงมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องยาวนานก็ได้ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรูปแบบและลักษณะของความ ผิดปกติที่เกิดขึ้นนั้นๆประเภทของภัยพิบัติที่เกิดขึ้น 3.ภัยอันตราย (Hazard) หมายถึงเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติ หรือจากกิจกรรมของมนุษย์หรือสิ่งอื่นใด ที่สามารถสร้างความ เสียหายต่อร่างกาย ชีวิต ทรัพย์สิน หรือความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อม 4.ภัยธรรมชาติ (Natural Disaster) หมายถึง ภัยอันตรายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และมีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์และถ้าภัย ธรรมชาติที่เกิดขึ้นนั้นมีความรุนแรงหรือเป็นมหันตภัยที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันเป็นการนามาซึ่งการทาลายล้างทั้งชีวิต และทรัพย์สิน และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพดั้งเดิม โดยยากที่จะคาดการณ์ได้จะเรียกว่า “ภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ” (Webster’s New Encyclopedic Dictionary, 1994) ภัยพิบัติที่เกิดจากมนุษย์หรือมนุษย์มีความเกี่ยวข้อง (Human-Related or Man-Made Disaster) หมายถึง ภัยอันตรายต่าง ๆ ที่มีสาเหตุเกิดขึ้นจากมนุษย์หรือ มนุษย์มีความเกี่ยวข้องทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม และ มีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์เอง วิธีการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อโครงงานเรื่องที่สนใจ 2.ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมลู 3รวบรวมข้อมูลที่ได้ 4. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 5.จัดทาโครงงาน 6.เสนอโครงงานแก่ครูที่ปรึกษา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.หนังสือภัยพิบัติธรรมชาติแผ่นดินไหว 2.อินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์ งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • 4. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / / / 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน / / / / / / / 5 ปรับปรุงทดสอบ / / 6 การทาเอกสารรายงาน / / / / 7 ประเมินผลงาน / / 8 นาเสนอโครงงาน / / / สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระสังคมศึกษา หน่วยภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ หน่วยผลกระทบกับธรรมชาติ เอกสารอ้างอิง http://all-that-is-interesting.com/the-most-devastating-natural-disasters-of-the-21st http://rangsaritster.blogspot.com/2010/10/blog-post.html http://www.dmr.go.th/main.php?filename=case_eq https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E 0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A7 http://guru.sanook.com/2264/ https://www.dek-d.com/studyabroad/34596/