ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ใบความรู้
                    ขัน ตอนการพัฒ นาโปรแกรม
                      ้
หลัก การเขีย นโปรแกรม
       ในการแก้ปัญหาโดยอาศัยวิธีการเขียนโปรแกรม ประกอบด้วยขั้นตอน
ต่าง ๆ ดังนี้
               1. การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา
               2. การออกแบบโปรแกรม
               3. การเขียนโปรแกรม
               4. การตรวจสอบการทำางาน
               5. การทำาเอกสารประกอบโปรแกรม
               6. การบำารุงรักษาโปรแกรม
     1.1 การวิเ คราะห์แ ละกำา หนดรายละเอีย ดของปัญ หา
รายละเอียดของปัญหาในเบื้องต้นอาจยังไม่ชัดเจน ในขั้นตอนนี้ ผู้เขียน
โปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำาหนดรายละเอียดของปัญหาที่ชัดเจน
ซึ่ง องค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบ ที่จะช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาได้แก่
           1. การระบุข้อมูลเข้า(Input Specification) ต้องรู้ว่ามีข้อมูลอะไร
               ที่จะต้องป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์พร้อมกับโปรแกรม เพื่อให้
               โปรแกรมทำาการประมวลผลและออกผลลัพธ์
           2. การระบุข้อมูลออก(Output Specification) จะพิจารณาว่างาน
               ที่ทำามีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์อะไร ต้องหารผลลัพธ์ที่มีรูปร่าง
               หน้าตาเป็นอย่างไร โดยจะต้องคำานึงถึงผู้ให้เป็นหลักในการ
               ออกแบบผลลัพธ์
           3. กำาหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification) ต้องรู้วิธี
               การประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
     1.2 การออกแบบโปรแกรม
           ขั้นตอนการออกแบบโปรแกรมเป็นการออกแบบลำาดับการทำางาน
หรือแก้ปัญหาซึ่งจะต้องสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา สำาหรับขั้นตอน
การประมวลผลข้อมูล ที่กำาหนดเป็นลำาดับที่แน่นอนต่อเนื่องกันเพื่อใช้แก้
ปัญหา เรียกว่า ขันตอนวิธี (algorithms) ขั้นตอนวิธีทดีจะต้องมีระบบ
                       ้                                 ี่
ระเบียบที่แน่นอนและชัดเจนในการแก้ปัญหา ขั้นตอนวิธีและโปรแกรมที่เรา
ออกแบบจะอาศัยโครงสร้างควบคุมการทำางาน 3 อย่าง คือ
            • โครงสร้างแบบตามลำาดับ (sequential structure) เป็นขั้น
    ตอนการทำางานที่เป็นไปตามลำาดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูก
    ประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น
            • โครงสร้างแบบมีทางเลือก (selection structure) เป็นขั้น
    ตอนการทำางานที่บางขั้นตอนจะได้รับหรือไม่ได้รับการประมวลผล ขึ้นอยู่
    กับเงื่อนไขบางประการ
• โครงสร้างแบบทำาซำ้า (repetition structure) เป็นขั้นตอน
  การทำางานที่บางขั้นตอนจะถูกประมวลผลซำ้ามากกว่า 1 ครั้ง ขึนอยู่กับ
                                                           ้
  เงื่อนไขบางประการ

      1.3 การเขีย นโปรแกรม
           ในกรณีที่ได้วิเคราะห์ปัญหาและกำาหนดรายละเอียดของปัญหา
ตลอดจนออกแบบโปรแกรมอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้วจะถึงขั้นตอนการ
เขียนโปรแกรม ในขั้นตอนนี้ก็สามารถทำาให้สัมฤทธิ์ผลได้โดยง่าย ขันตอน    ้
การเขียนโปรแกรม หมายถึง กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกำาหนด
โครงสร้างของข้อมูล และกำาหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้แก้ปัญหาตามที่ได้
ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
แต่ละภาษา
      1.4 การตรวจสอบการทำา งาน
            หลังจากที่ผู้พัฒนาเขียนโปรแกรมภาษาเสร็จแล้วจะต้องมีการตรวจ
      สอบโปรแกรมที่เขียนว่าคำาสั่งถูกต้องตามไวยกรณ์หรือกฎเกณฑ์ของ
      ภาษานั้นหรือไม่ และแปลภาษาโปรแกรมให้เป็นรหัสที่เครื่อง
      คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ ซึ่งเราเรียกว่าการแปล (Compile) ซึ่งจะมี
      การสอบความถูกต้องของโปรแกรมตามกฎเกณฑ์การใช้ภาษาที่กำาหนด
      ขึ้น โดยตัวแปลภาษาหนึ่งๆ และแจ้งให้ผู้ใช้ทราบในกรณีที่ปรากฏข้อ
      ผิดพลาดขึ้น ข้อผิดพลาดที่ตรวจพบในขั้นตอนนี้ เรียกว่า ข้อผิดพลาด
      ทางไวยากรณ์ (Syntax Error) ข้อมูลนำาเข้า ข้อผิดพลาดจาก
      โครงสร้างที่ใช้จัดเก็บข้อมูล เมื่อผู้ใช้แก้ไขข้อผิดพลาดเรียบร้อยแล้ว จะ
      ต้องทำาขั้นตอนการแปลใหม่อีกครั้ง และทำาเช่นนี้จนกว่าจะไม่พบข้อผิด
      พลาดทางไวยากรณ์ใดเลย จึงจะถือว่าโปรแกรมถูกต้อง
      1.5 การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม
            การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำาคัญของการพัฒนา
โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจ
วัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จาก
โปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำาเอกสารกำากับ เช่น
คู่มือปฏิบัติงานเครื่อง (Operation Manual) คู่มือผู้ใช้ (Usermanual)
เป็นต้น
       เอกสารประกอบโปรแกรม โดยทั่วไปจะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบคือ
           • เอกสารประกอบโปรแกรมสำา หรับ ผู้ใ ช้ (User
              Documentation) จะเหมาะสำาหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับ
              การพัฒนาโปรแกรม แต่เป็นผู้ที่ใช้งานโปรแกรมอย่างเดียว จะ
              เน้นการอธิบายเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมเป็นหลัก
           • เอกสารประกอบสำา หรับ ผู้เ ขีย นโปรแกรม (Technical
              Documentation) ส่วนอธิบายด้านเทคนิค ซึ่งส่วนนี้มักจะทำา
เป็นเอกสารแยกต่างหากจากโปรแกรม จะอธิบายในรายละเอียด
             ที่มากขึ้น
      1.6 การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม
         เมื่อมีการนำาโปรแกรมไปใช้งานระยะหนึ่ง เป็นไปได้ที่ว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการแก้ปัญหา เช่น ในตัวอย่างการคำานวณรายได้
ของบริษัทเคเบิลทีวี อาจมีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าติดตั้งอุปกรณ์รับ
สัญญาณเคเบิลทีวีสำาหรับบ้านพักอาศัย ซึ่งได้กำาหนดเป็นค่าคงที่ใน
โปรแกรม หรือ บริษัทมีนโยบายในการให้ส่วนลดกับสมาชิกเก่า หรือบริษัท
เพิ่มแผนโฆษณาเชิญชวนให้ลูกค้าสมัครเป็นสมาชิก โดยมีเงื่อนไขพิเศษ
มากมาย เป็นเหตุให้ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องแก้ไขโปรแกรมให้สอดคล้องกับ
เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป การแก้ไขในลักษณะนี้ เรียกว่า การบำารุงรักษา
โปรแกรม

More Related Content

ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม

  • 1. ใบความรู้ ขัน ตอนการพัฒ นาโปรแกรม ้ หลัก การเขีย นโปรแกรม ในการแก้ปัญหาโดยอาศัยวิธีการเขียนโปรแกรม ประกอบด้วยขั้นตอน ต่าง ๆ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา 2. การออกแบบโปรแกรม 3. การเขียนโปรแกรม 4. การตรวจสอบการทำางาน 5. การทำาเอกสารประกอบโปรแกรม 6. การบำารุงรักษาโปรแกรม 1.1 การวิเ คราะห์แ ละกำา หนดรายละเอีย ดของปัญ หา รายละเอียดของปัญหาในเบื้องต้นอาจยังไม่ชัดเจน ในขั้นตอนนี้ ผู้เขียน โปรแกรมจะต้องวิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำาหนดรายละเอียดของปัญหาที่ชัดเจน ซึ่ง องค์ประกอบอยู่ 3 องค์ประกอบ ที่จะช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาได้แก่ 1. การระบุข้อมูลเข้า(Input Specification) ต้องรู้ว่ามีข้อมูลอะไร ที่จะต้องป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์พร้อมกับโปรแกรม เพื่อให้ โปรแกรมทำาการประมวลผลและออกผลลัพธ์ 2. การระบุข้อมูลออก(Output Specification) จะพิจารณาว่างาน ที่ทำามีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์อะไร ต้องหารผลลัพธ์ที่มีรูปร่าง หน้าตาเป็นอย่างไร โดยจะต้องคำานึงถึงผู้ให้เป็นหลักในการ ออกแบบผลลัพธ์ 3. กำาหนดวิธีการประมวลผล (Process Specification) ต้องรู้วิธี การประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ 1.2 การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการออกแบบโปรแกรมเป็นการออกแบบลำาดับการทำางาน หรือแก้ปัญหาซึ่งจะต้องสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา สำาหรับขั้นตอน การประมวลผลข้อมูล ที่กำาหนดเป็นลำาดับที่แน่นอนต่อเนื่องกันเพื่อใช้แก้ ปัญหา เรียกว่า ขันตอนวิธี (algorithms) ขั้นตอนวิธีทดีจะต้องมีระบบ ้ ี่ ระเบียบที่แน่นอนและชัดเจนในการแก้ปัญหา ขั้นตอนวิธีและโปรแกรมที่เรา ออกแบบจะอาศัยโครงสร้างควบคุมการทำางาน 3 อย่าง คือ • โครงสร้างแบบตามลำาดับ (sequential structure) เป็นขั้น ตอนการทำางานที่เป็นไปตามลำาดับก่อนหลัง และแต่ละขั้นตอนจะถูก ประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น • โครงสร้างแบบมีทางเลือก (selection structure) เป็นขั้น ตอนการทำางานที่บางขั้นตอนจะได้รับหรือไม่ได้รับการประมวลผล ขึ้นอยู่ กับเงื่อนไขบางประการ
  • 2. • โครงสร้างแบบทำาซำ้า (repetition structure) เป็นขั้นตอน การทำางานที่บางขั้นตอนจะถูกประมวลผลซำ้ามากกว่า 1 ครั้ง ขึนอยู่กับ ้ เงื่อนไขบางประการ 1.3 การเขีย นโปรแกรม ในกรณีที่ได้วิเคราะห์ปัญหาและกำาหนดรายละเอียดของปัญหา ตลอดจนออกแบบโปรแกรมอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้วจะถึงขั้นตอนการ เขียนโปรแกรม ในขั้นตอนนี้ก็สามารถทำาให้สัมฤทธิ์ผลได้โดยง่าย ขันตอน ้ การเขียนโปรแกรม หมายถึง กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกำาหนด โครงสร้างของข้อมูล และกำาหนดขั้นตอนวิธีเพื่อใช้แก้ปัญหาตามที่ได้ ออกแบบไว้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ แต่ละภาษา 1.4 การตรวจสอบการทำา งาน หลังจากที่ผู้พัฒนาเขียนโปรแกรมภาษาเสร็จแล้วจะต้องมีการตรวจ สอบโปรแกรมที่เขียนว่าคำาสั่งถูกต้องตามไวยกรณ์หรือกฎเกณฑ์ของ ภาษานั้นหรือไม่ และแปลภาษาโปรแกรมให้เป็นรหัสที่เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ ซึ่งเราเรียกว่าการแปล (Compile) ซึ่งจะมี การสอบความถูกต้องของโปรแกรมตามกฎเกณฑ์การใช้ภาษาที่กำาหนด ขึ้น โดยตัวแปลภาษาหนึ่งๆ และแจ้งให้ผู้ใช้ทราบในกรณีที่ปรากฏข้อ ผิดพลาดขึ้น ข้อผิดพลาดที่ตรวจพบในขั้นตอนนี้ เรียกว่า ข้อผิดพลาด ทางไวยากรณ์ (Syntax Error) ข้อมูลนำาเข้า ข้อผิดพลาดจาก โครงสร้างที่ใช้จัดเก็บข้อมูล เมื่อผู้ใช้แก้ไขข้อผิดพลาดเรียบร้อยแล้ว จะ ต้องทำาขั้นตอนการแปลใหม่อีกครั้ง และทำาเช่นนี้จนกว่าจะไม่พบข้อผิด พลาดทางไวยากรณ์ใดเลย จึงจะถือว่าโปรแกรมถูกต้อง 1.5 การทำา เอกสารประกอบโปรแกรม การทำาเอกสารประกอบโปรแกรมเป็นงานที่สำาคัญของการพัฒนา โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจ วัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จาก โปรแกรม การทำาโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำาเอกสารกำากับ เช่น คู่มือปฏิบัติงานเครื่อง (Operation Manual) คู่มือผู้ใช้ (Usermanual) เป็นต้น เอกสารประกอบโปรแกรม โดยทั่วไปจะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบคือ • เอกสารประกอบโปรแกรมสำา หรับ ผู้ใ ช้ (User Documentation) จะเหมาะสำาหรับผู้ใช้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องกับ การพัฒนาโปรแกรม แต่เป็นผู้ที่ใช้งานโปรแกรมอย่างเดียว จะ เน้นการอธิบายเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมเป็นหลัก • เอกสารประกอบสำา หรับ ผู้เ ขีย นโปรแกรม (Technical Documentation) ส่วนอธิบายด้านเทคนิค ซึ่งส่วนนี้มักจะทำา
  • 3. เป็นเอกสารแยกต่างหากจากโปรแกรม จะอธิบายในรายละเอียด ที่มากขึ้น 1.6 การบำา รุง รัก ษาโปรแกรม เมื่อมีการนำาโปรแกรมไปใช้งานระยะหนึ่ง เป็นไปได้ที่ว่ามีการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในการแก้ปัญหา เช่น ในตัวอย่างการคำานวณรายได้ ของบริษัทเคเบิลทีวี อาจมีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าติดตั้งอุปกรณ์รับ สัญญาณเคเบิลทีวีสำาหรับบ้านพักอาศัย ซึ่งได้กำาหนดเป็นค่าคงที่ใน โปรแกรม หรือ บริษัทมีนโยบายในการให้ส่วนลดกับสมาชิกเก่า หรือบริษัท เพิ่มแผนโฆษณาเชิญชวนให้ลูกค้าสมัครเป็นสมาชิก โดยมีเงื่อนไขพิเศษ มากมาย เป็นเหตุให้ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องแก้ไขโปรแกรมให้สอดคล้องกับ เงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป การแก้ไขในลักษณะนี้ เรียกว่า การบำารุงรักษา โปรแกรม