ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงาȨอมพิวเตอร์ 
โครงงาȨอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อ โครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ สร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนา 
Computer Project Computer Project is results from the study based on their interests. Aptitudes and abilities of the students. The scientific method Researchers are learning activities with a focus on the learners. Project, students will find topics of interest. And associated knowledge, and knowledge of computers and information technology. To create on-demand offerings. The teacher as a mentor and guide. 
ความสาคัญของโครงงาน 1. ด้านนักเรียน 1.1 ช่วยสร้างความหวังใหม่ในการริเริ่มงาน ที่จะนาไปสู่อาชีพ และการศึกษาต่อ ที่ตนเองมีความถนัดและสนใจ 1.2 สร้างเสริมประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง ด้วยชีวิตจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอย่างซาบซึ้ง ในโครงงานที่ สร้างสรรค์ขึ้นมา 1.3 ได้มีโอกาสทดสอบความถนัดของตนเอง และการแก้ปัญหาในการงานที่ตนเองสนใจและมีความพร้อม ส่งผล ให้เกิดความมั่นใจในการดาเนินงานต่อไป 1.4 ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ที่ได้สร้างเกียรติประวัติในโครงงานที่ได้ริเริ่มสร้างสรรค์ 
1.5 ก่อให้เกิดความรัก ความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีงามต่อกัน ระหว่างเพื่อนนักเรียนที่ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
2. ด้านโรงเรียน และ ครู-อาจารย์ 2.1 เกิดการประสานงานทางวิชาการที่ผสมผสาน หรือ บูรณการเกิดขึ้นใน โรงเรียน ตรงกับหลักสูตรมัธยมศึกษา และแนวทางพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 2.2 เกิดความเข้าใจที่ตรงกันว่า การเรียนการสอนในปัจจุบันขึ้นอยู่กับการฝึกปฏิบัติจริง ในโครงงานของนักเรียน มากกว่าที่จะเรียนอยู่แต่ในห้องเรียนเท่านั้น 2.3 เกิดศูนย์รวมสื่อสารการเรียนการสอน หรือศูนย์วัสดุ – อุปกรณ์การสอนสาหรับในหมวดวิชาต่าง ๆ ใน โรงเรียนได้ใช้ร่วมกัน ส่งผลให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกใช้สื่อการสอนอย่างแท้จริงและหลากหลาย 2.4 เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน ครู – อาจารย์ผู้สอน และโรงเรียนอาจารย์ที่มีโอกาสปฏิบัติงานอย่าง ใกล้ชิด และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะช่องว่างที่ต่างกัน 
3. ด้านท้องถิ่น 3.1 การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานในเชิงปฏิบัติของโครงงาน ที่ ประสบผลสาเร็จไปสู่ท้องถิ่น ทา ให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนมีความเข้าใจ และประสานสัมพันธ์กันดียิ่ง 3.2 ช่วยลดปัญหาวันรุ่นในท้องถิ่นเกี่ยวกับความประพฤติ จรรยามารยาท และศีลธรรม เพราะนักเรียนที่มีโครงงาน มักจะเป็นนักเรียนที่มีความประพฤติดีมุ่งมั่น และสนใจการศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น 
3.3 ทาให้ประชาชนในท้องถิ่นมีพื้นฐานทางการศึกษาดี โดยเฉพาะงานอาชีพที่หลากหลาย และการพัฒนา การศึกษา ที่มุ่งเน้นให้เยาวชนของชาติ มีนิสัยรักการทางานไม่เป็นคนหยิบโหย่ง และช่วยเหลือพ่อแม่ผู้ปกครอง ด้วยดี 
นายวรินทร มิ่งขวัญ ม 6/1 เลขที่ 30

More Related Content

โครงงาȨอมพิวเตอร์

  • 1. โครงงาȨอมพิวเตอร์ โครงงาȨอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อ โครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ สร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนา Computer Project Computer Project is results from the study based on their interests. Aptitudes and abilities of the students. The scientific method Researchers are learning activities with a focus on the learners. Project, students will find topics of interest. And associated knowledge, and knowledge of computers and information technology. To create on-demand offerings. The teacher as a mentor and guide. ความสาคัญของโครงงาน 1. ด้านนักเรียน 1.1 ช่วยสร้างความหวังใหม่ในการริเริ่มงาน ที่จะนาไปสู่อาชีพ และการศึกษาต่อ ที่ตนเองมีความถนัดและสนใจ 1.2 สร้างเสริมประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง ด้วยชีวิตจริง ส่งผลให้เกิดความเข้าใจอย่างซาบซึ้ง ในโครงงานที่ สร้างสรรค์ขึ้นมา 1.3 ได้มีโอกาสทดสอบความถนัดของตนเอง และการแก้ปัญหาในการงานที่ตนเองสนใจและมีความพร้อม ส่งผล ให้เกิดความมั่นใจในการดาเนินงานต่อไป 1.4 ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ที่ได้สร้างเกียรติประวัติในโครงงานที่ได้ริเริ่มสร้างสรรค์ 1.5 ก่อให้เกิดความรัก ความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีงามต่อกัน ระหว่างเพื่อนนักเรียนที่ปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม
  • 2. 2. ด้านโรงเรียน และ ครู-อาจารย์ 2.1 เกิดการประสานงานทางวิชาการที่ผสมผสาน หรือ บูรณการเกิดขึ้นใน โรงเรียน ตรงกับหลักสูตรมัธยมศึกษา และแนวทางพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 2.2 เกิดความเข้าใจที่ตรงกันว่า การเรียนการสอนในปัจจุบันขึ้นอยู่กับการฝึกปฏิบัติจริง ในโครงงานของนักเรียน มากกว่าที่จะเรียนอยู่แต่ในห้องเรียนเท่านั้น 2.3 เกิดศูนย์รวมสื่อสารการเรียนการสอน หรือศูนย์วัสดุ – อุปกรณ์การสอนสาหรับในหมวดวิชาต่าง ๆ ใน โรงเรียนได้ใช้ร่วมกัน ส่งผลให้นักเรียนได้มีโอกาสฝึกใช้สื่อการสอนอย่างแท้จริงและหลากหลาย 2.4 เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียน ครู – อาจารย์ผู้สอน และโรงเรียนอาจารย์ที่มีโอกาสปฏิบัติงานอย่าง ใกล้ชิด และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะช่องว่างที่ต่างกัน 3. ด้านท้องถิ่น 3.1 การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ ผลงานในเชิงปฏิบัติของโครงงาน ที่ ประสบผลสาเร็จไปสู่ท้องถิ่น ทา ให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนมีความเข้าใจ และประสานสัมพันธ์กันดียิ่ง 3.2 ช่วยลดปัญหาวันรุ่นในท้องถิ่นเกี่ยวกับความประพฤติ จรรยามารยาท และศีลธรรม เพราะนักเรียนที่มีโครงงาน มักจะเป็นนักเรียนที่มีความประพฤติดีมุ่งมั่น และสนใจการศึกษาเล่าเรียนเท่านั้น 3.3 ทาให้ประชาชนในท้องถิ่นมีพื้นฐานทางการศึกษาดี โดยเฉพาะงานอาชีพที่หลากหลาย และการพัฒนา การศึกษา ที่มุ่งเน้นให้เยาวชนของชาติ มีนิสัยรักการทางานไม่เป็นคนหยิบโหย่ง และช่วยเหลือพ่อแม่ผู้ปกครอง ด้วยดี นายวรินทร มิ่งขวัญ ม 6/1 เลขที่ 30