ݺߣ
Submit Search
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
•
Download as PPTX, PDF
•
0 likes
•
5,865 views
Kasem S. Mcu
Follow
กรอบแนวคิดไตรสิกขากับการศึกษา หรือการพัฒนาการเรียนการสอน, การใช้ไตรสิกขากับการจัดการศึกษา
Read less
Read more
1 of 29
Download now
More Related Content
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
1.
ไตรสิกขากับการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนเกษม แสงนนท์คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
2.
หนังสือดีหȨ่งตู้ไม่ท่าครูึϸหนึ่งคน
3.
คุณค่าของโรงรียนไม่ไึϹอยู่ที่ตึกสวยงามใหญ่โตแต่อยู่ที่คุณภาพของครู
4.
แม่พิมพ์“ดั่งเปลวเทียนส่องทางช่วยสร้างสรรค์ปฏิมากรรม์รูปปั้นสร้างฝันให้เป็Ȩรือส่งข้ามฝั่งสมึϸ่งใจหนึ่งครูไทยสมนามแท้ชื่อแม่พิมพ์ĝช.ศรีนอก
5.
ครูสอนศีลธรรมครู
ไทยคือแม่พิมพ์ยิ้มสยามสอน เน้นย้ำแนวใหม่ไตรสิกขาศีล สงบสงัดได้พัฒนาธรรม เสริมสร้างปัญญาสมค่าครู
6.
Ȩกเรียนึϸพราะครูด่าครูเป็Ȩ้าพราะึϹานักรียน
7.
ผู้เข้าอบรมกลุ่ม ๑ สมัครใจมา-
สอนตรง แต่ยังไม่ค่อยเข้าใจ- สอนไม่ตรง แต่อยากมาเรียนรู้- สอนไม่ตรง / เข้าใจผิดว่าปฏิบัติธรรมกลุ่ม ๒ เพื่อนชวนมา (สอนไม่ตรง)กลุ่ม ๓ ถูกบังคับให้มา (สอนไม่ตรง)
8.
What is Tri-Sikkha..?มนุษย์
คือใคร...จะพัฒนาอย่างไร“ไตรสิกขา” คืออะไรทำไมจึงต้องรู้ “ไตรสิกขา” (จำเป็นกับชีวิตท่านอย่างไร)พุทธศาสนาทั้งสิ้น คือ “ไตรสิกขา”“ไตรสิกขา” กับการศึกษาศีล สมาธิ ปัญญา อันไหนจะเกิดก่อน-หลังวงจรเล็กในวงจรใหญ่ของ “ไตรสิกขา”ครูกับนักเรียน ใครควรใช้ “ไตรสิกขา”“ไตรสิกขา” เหมาะกับผู้เรียนระดับใดท่านจะประยุกต์ใช้ "ไตรสิกขา" กับวิชาต่างๆ อย่างไรกระบวนการแบบ "ไตรสิกขา" จะช่วยสังคมดีขึ้นอย่างไร
9.
ไตรสิกขา คืออะไรสิกขา
สิ่งที่ทุกคนต้องศึกษา หมายถึง การเรียนรู้ เข้าใจ และนำไปปฏิบัติ เพื่อจะให้ชีวิตมีพัฒนาการที่ดีขึ้นทั้งด้านร่างกาย วาจา สังคม อาชีพการงาน จิตใจ และปัญญา มี ๓ อย่าง ได้แก่ศีล ข้อประพฤติปฏิบัติทางกาย วาจา สังคม อาชีพการงานสมาธิ ข้อปฏิบัติทางจิตใจที่จะทำให้มั่นคง มุ่งมั่น ไม่วอกแวกปัญญา ข้อปฏิบัติทางความรู้ ความคิด วิสัยทัศน์ ที่จะนำไปสู่การปฏิบัติหรือแสดงออกทางกาย วาจา และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นทั้ง ๓ อย่างรวมกัน เรียกว่า “ไตรสิกขา” หรือ “สิกขา ๓”
10.
ทำไมต้องรู้ไตรสิกขา..?ไตรสิกขา เป็นเครื่องมือพัฒนากาย จิตใจ
ปัญญา มนุษย์ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
11.
พระพุทธศาสนาทั้งสิ้น คือ ไตรสิกขา
12.
ไตรสิกขา กับ การศึกษา
ตถาคตโพธิสัทธา เราเชื่อมั่นในพระพุทธเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์ (หมดกิเลส) ผู้ตรัสรู้ชอบเอง (สัมมาสัมพุทโธ) ผู้ถึงพร้อมวิชชาและจรณะ (วิชชาจรณสัมปันโน) ผู้ดำเนินไปด้วยดี (สุคโต) ผู้รู้แจ้งโลก (โลกวิทู)ที่ทรงสั่งสอนมนุษย์ให้ประพฤติปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา แล้วจะเป็นผู้มีกาย วาจา สังคม อาชีพ จิตใจ และปัญญาที่ดี โดยจะได้รับประโยชน์ทั้งตนเองและผู้อื่น ทั้งในปัจจุบันและอนาคตไตรสิกขา จึงเหมาะที่จะเป็นขอบข่าย (Framework) ของกระบวนการจัดการศึกษา ต่อไป
13.
การศึกษา กับ มนุษย์การศึกษา
คือ กระบวนการพัฒนามนุษย์ให้มีความสมบูรณ์ทั้งกาย วาจา สังคม อาชีพการงาน จิตใจ และปัญญา เพื่อยังประโยชน์ตน สังคม ประเทศชาติ ให้ถึงพร้อม
14.
ไตรสิกขา กับ การเรียนรู้การเรียนรู้เรื่องใดๆ
ถ้าผู้เรียนถึงพร้อมด้วยเครื่องมือตามหลักไตรสิกขา ย่อมทำให้จะเรียนรู้นั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
15.
ประเภทของความรู้ (ปัญญา)
ความรู้ หรือ ปัญญา ตามหลักไตรสิกขา แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ๒ อย่าง ได้แก่โลกิยปัญญา (วิชาชีพ) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต อาชีพ การงาน สังคม และวิชาการต่างๆ ทางโลกโลกุตตรปัญญา (วิชาชีวิต) ความรู้เกี่ยวกับ ความจริงของชีวิต(เทวทูต ๔) ลักษณะของชีวิต (ไตรลักษณ์) องค์ประกอบของชีวิต (ธาตุ ๔, ขันธ์ ๕) โลกธรรม (โลกธรรม ๘) และปรมัตถธรรม (ธรรมชาติที่เป็นจริงแท้แน่นอน คือ จิต เจตสก รูป นิพพาน)
16.
ชนิดของความรู้ (วิธีการได้ปัญญา)
ความรู้ หรือ ปัญญา สามารถเกิดขึ้นได้ ๓ ทาง ได้แก่สุตตมยปัญญา ความรู้เกิดจากการฟัง การอ่าน ค้นคว้า การฟังบรรยาย อภิปรายต่างๆจินตามยปัญญา ความรู้เกิดจากการคิด วิเคราะห์ ใคร่ครวญ พิจารณาหาเหตุผลภาวนามยปัญญา ความรู้เกิดจากการลงมือปฏิบัติ ฝึกฝน ทำแล้วทำอีกจนเกิดความชำนาญ
17.
ศีล สมาธิ ปัญญา
อันไหนเกิดก่อน-หลังศีล สมาธิ ปัญญา สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งก่อน-หลัง สลับกันไป โดยไม่เรียงลำดับ แล้วแต่ “อินทรีย์” หรือ ความสามารถในการเรียนรู้ ของผู้เรียน จุดหมายคือ ความรู้หรือผลผลิตที่ได้กระบวนการออกแบบแบบย้อนกลับ(Backward Design) ของ Wiggins และ McTighcเริ่มจากคิดทุกอย่างให้จบสิ้นสุด จากนั้นจึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ผลผลิตที่ต้องการ (เป้าหมายหรือมาตรฐานการเรียนรู้) ที่มาจากหลักสูตร เป็นหลักฐานพยานแห่งการเรียนรู้ (Performances) แล้วจึงวางแผนการเรียนการสอนในสิ่งที่จำเป็นให้กับนักเรียน จนได้ผลผลิตที่ต้องการซึ่งหลักฐานแห่งการเรียนรู้นั้น
18.
ไตรสิกขา เกิดขึ้นอย่างไรศีล สมาธิ
ปัญญา สามารถเกิดขึ้นได้แบบ ไตรสิกขา ใน ไตรสิกขา หรือ วงจรเล็กในวงจรใหญ่
19.
ไตรสิกขา เหมาะกับผู้เรียนระดับใด เป็นความเหมาะสมในเบื้องต้น
ตามความเป็นจริงก็ขึ้นอยู่กับ จริต นิสัย หรือ อินทรีย์ ของผู้เรียนแต่ละคนครูกับนักเรียน ใครต้องใช้ “ไตรสิกขา”กระบวนการไตรสิกขา คือ การเตรียมความพร้อมทางกาย เครื่องมือสื่อการเรียนการสอน สภาพจิตใจ และสมอง (ปัญญา) จึงต้องใช้ทั้งสองฝ่าย
20.
วิธีการของครูครู ต้องสอนให้แจ่มแจ้ง (สันทัสสนา)จูงใจ
(สมาทปนา)แกล้วกล้า (สมุตเตชนา)ร่าเริง (สัมปหังสนา)
21.
วิธีการของนักเรียน ฟังมาก (พหุสุตตา)
จำได้ (ธตา) คล่องปาก (วจสา ปริจิตา) เจนใจ (มนสานุเปกขิตา) ขบได้ด้วยทฤษฏี (ทิฏฐิยา สุปฏิวิทธา)
22.
Tri-Sikkha Frameworkเครื่องมือ “ภาวนา
๔”กาย (และวาจา)
23.
สังคม
24.
จิตใจ
25.
ปัญญาไตรสิกขา จะช่วยสังคมดีขึ้นอย่างไรประโยชน์ตน: ทำให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล
ทั้งทางกาย วาจา อาชีพ สังคม จิตใจ และปัญญาประโยชน์ผู้อื่น: ผู้ที่มีพื้นฐานแบบไตรสิกขา ย่อมไม่เห็นแก่ตัว ย่อมมุ่งให้งาน สังคม และเพื่อนมนุษย์อยู่ดีมีสุขเหมือนกันประโยชน์ทั้งสองฝ่าย: เมื่อทุกคนมีศีล สมาธิ ปัญญา ย่อมเป็นประโยชน์ต่อตนและสังคม ทั้งสองฝ่ายประโยชน์อย่างยิ่ง: ผู้มีหลักของไตรสิกขา ย่อมรู้ทั้งวิชาชีพและเข้าใจวิชาชีวิต ไม่ตกเป็นทาสของอธรรม ย่อมจะได้รับสิ่งที่ดีงามยิ่งขึ้น
26.
ข้อสอบสำหรับผู้ไม่มี “ไตรสิกขา”คำสั่ง: ข้อสอบมี
๒ ข้อ ให้ทำทุกข้อ ๑๐๐ คะแนน(แยกห้องสอบ ห้ามถามกัน)การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ตามกระบวนการ SDLC มีขั้นตอนอย่างไร อธิบายให้ละเอียด (๑๐ คะแนน)ล้อรถยนต์ที่ยางแตก คือล้อใด..?(๙๐ คะแนน)
27.
ทิศทางพัฒนา โดย อธิการบดีเพิ่มจำนวนโครงการ/จำนวนครั้งความร่วมมือ/สร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างสื่อกลาง,
หนังสือ, ตำรา, ใช้ร่วมกันพัฒนาโดยหลักสูตร/ครู/อบรม ร่วมกับส่วนธรรมนิเทศ-กองแผนงาน
28.
ดาวน์โหลดข้อมูล เว็บไซต์ มจร.
www.mcu.ac.th
29.
ึϸวน์โหลึϾ้อมูลการอบรม
http://edu.mcu.ac.th เมนู Download ดูประมวลภาพ http://gallery.mcu.ac.th ดูวิดีโอhttp://mcutube.mcu.ac.th
30.
หลักสูตรการเรียนปริญญาตรีการสอนสังคมศึกษา, การสอนภาษาไทย, การสอนภาษาอังกฤษจิตวิทยาการปรึกษาและการแนะแนวปริญญาโทการบริหารการศึกษาปริญญาเอกการบริหารการศึกษา
31.
หลักสูตรอบรมระยะสั้นการพัฒนาระบบเครือข่าย (Network)ICT เพื่อการศึกษาและการปฏิบัติงานการพัฒนาระบบ
e-Learningคอมพิวเตอร์เพื่อการวิจัยการสร้างแบบทดสอบ Onlineการออกแบบและพัฒนา Websiteการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์(Desktop Publishing)การสร้างผังมโนทัศน์ (Mind mapping)การสร้างสื่อ Presentation แบบมืออาชีพ เทคนิคการผลิต e-Book เทคนิคการผลิตสื่อ Video On Demandไอทีเพื่อการจัดการความรู้ (KM)
Download