ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนปรากฏการณ์ Doppler Effect
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายพงปภัส ภัทรวีร์ธัญวิชย์ เลขที่ 31 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2.นายอิศรพงษ์ แก้ววัน เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม สื่อการเรียนการสอนปรากฏการณ์ Doppler Effect
1.นายพงปภัส เลขที่ 31 2.นายอิศรพงษ์ เลขที่ 33
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Doppler Effect Phenomenon
ประเภทโครงงาน สื่อการเรียนการสอน
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายพงปภัส ภัทรวีร์ธัญวิชย์ เลขที่ 31 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2.นายอิศรพงษ์ แก้ววัน เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน
3
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากเนื้อหาวิชาฟิสิกส์ในเรื่องของเสียงเป็นสิ่งที่มองไม่เห็น จึงทาให้เข้าใจเนื้อหาได้ยาก
มองไม่เห็นภาพ จึงได้คิดทาสื่อการเรียนรู้ในเรื่องของปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่
เราจะได้ยินเสียงผิดไปจากความเป็นจริง โดยการที่จะนาเสนอในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหวและมีคา
บรรยายประกอบ ซึ่งสื่อการเรียนรู้นี้จะช่วยให้ผู้ที่กาลังศึกษารายวิชาฟิสิกส์ ในเรื่องของเสียง ได้เข้าใจ
เนื้อหาและเห็นภาพประกอบชัดเจนมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
2. เพื่อจาลองภาพเหตุการณ์ดอปเปลอร์ให้เข้าใจง่ายขึ้น
3. เพื่อนาความรู้ที่ได้ประยุกต์และปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน
1. ทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแหล่งกาเนิดเสียงและผู้ฟังอย่างละหนึ่ง
2. ศึกษาหาความรู้และรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
3. ศึกษาและทาภาพเคลื่อนไหวโดยใช้โปรแกรม Flash Professional
หลักการและทฤษฎี
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ “ Doppler Effect”
เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรับคลื่นของผู้ฟังหรือผู้สังเกตุ อันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่
สัมพัทธ์กันของแหล่งกาเนิดคลื่นหรือการเคลื่อนที่ของผู้ฟัง “ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างผู้ฟังกับ
แหล่งกาเนิดไม่เท่ากับศูนย์”
ความเร็วสัมพัทธ์ คือ ความเร็วเปรียบเทียบระหว่างความเร็ว 2 ความเร็ว ความเร็วหนึ่งเป็น
ความเร็วของสิ่งที่ต้องการสังเกต และอีกความเร็วหนึ่งเป็นความเร็วของผู้สังเกต
ตัวอย่างการหาความเร็วสัมพัทธ์ เมื่อผู้สังเกตมีความเร็ว และสิ่งที่ถูกสังเกตมี
ความเร็ว เคลื่อนที่อยู่ในแนวเส้นตรง การหาความเร็วสัมพัทธ์ให้กลับทิศความเร็วของผู้สังเกต
แล้วนาไปบวกกับความเร็วของสิ่งที่ถูกสังเกต เช่น
4
1. และ เคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน ความเร็วสัมพัทธ์ที่ได้คือ
2. และ เคลื่อนที่สวนทางกัน ความเร็วสัมพัทธ์ที่ได้คือ
*** รูป แสดงว่า ถ้าไม่มีการเคลื่อนที่ของแหล่งกาเนิดและผู้สังเกตก็จะไม่มีปรากฎการณ์ดอปเปลอร์
1. เมื่อผู้สังเกตอยู่นิ่ง-แหล่งกาเนิดคลื่นเคลื่อนที่
5
รูป แสดง
ปรากฎการณ์ดอป
เพลอร์ ผู้สังเกตอยู่
กับที่
6
รูป แสดงการเกิดปรากฎการณ์ดอปเพลอร์ เมื่อแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่
ผู้ฟังที่อยู่ด้านหน้าได้รับเสียงความถี่สูงกว่าความถี่แหล่งกาเนิด คือ
ผู้ฟังที่อยู่ด้านหน้าได้รับเสียงความยาวคลื่นน้อยกว่าความความยาวคลื่นแหล่งกาเนิด คือ
ผู้ฟังที่อยู่ด้านหลังได้รับความถี่ต่ากว่าความถี่แหล่งกาเนิด คือ
ผู้ฟังที่อยู่ด้านหน้าได้รับเสียงความยาวคลื่นมากกว่าความความยาวคลื่นแหล่งกาเนิด คือ
2. ผู้สังเกตเคลื่อนที่ - แหล่งกาเนิดที่อยู่นิ่ง (ในกรณีนี้ความยาวคลื่นคงเดิม)
เมื่อเราสังเกตจะพบว่า ถ้าผู้สังเกตวิ่งเข้าหาแหล่งกาเนิดจะทาให้รับคลื่นได้เป็นจานวน
มากกว่าเมื่อผู้สังเกตอยู่นิ่ง
ถ้าผู้สังเกตเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกาเนิดจะทาให้รับคลื่นได้เป็นจานวนน้อยกว่าเมื่อผู้สังเกต
อยู่นิ่ง
3. ผู้สังเกตเคลื่อนที่ - แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่
เมื่อเราสังเกตจะพบว่า ถ้าผู้สังเกตและแหล่งกาเนิดวิ่งเข้าหากันจะทาให้รับคลื่นได้เป็นจานวน
มากกว่าเมื่ออยู่นิ่ง
7
เมื่อเราสังเกตจะพบว่า ถ้าผู้สังเกตวิ่งหนีและแหล่งกาเนิดวิ่งไล่จะทาให้รับคลื่นได้เป็นจานวน
มากกว่าเมื่ออยู่นิ่ง
เมื่อเราสังเกตจะพบว่า ถ้าผู้สังเกตและแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่ออกจากกันจะทาให้รับคลื่นได้
เป็นจานวนน้อยกว่าเมื่ออยู่นิ่ง
เมื่อเราสังเกตจะพบว่า ถ้าผู้สังเกตวิ่งไล่และแหล่งกาเนิดวิ่งหนีออกจากกันจะทาให้รับคลื่นได้
เป็นจานวนน้อยกว่าเมื่ออยู่นิ่ง
ซึ่งสามารถสรุปเป็นสมการ การคานวณทุกกรณี ได้ว่า
= ความยาวคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิด
= ความยาวคลื่นเสียงที่ปรากฏด้านหลังแหล่งกาเนิด
= ความยาวคลื่นเสียงที่ปรากฏด้านหน้าแหล่งกาเนิด
= ความเร็วของแหล่งกาเนิด
= ความเร็วของผู้สังเกต
= ความเร็วของเสียงในอากาศ
= ความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง
= ความถี่ที่ผู้ฟังรับได้
8
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เสนอหัวข้อโครงงาน
2. เลือกหัวข้อโครงงานที่เหมาะสม
3. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานที่เลือก
4. นามาจัดทาเป็นสื่อการสอนด้วยโปรแกรม Power Point
5. ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
6. รายงานผลการจัดทาและดาเนินการ
7. จัดทาเอกสาร
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน พงปภัส
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พงปภัส
3 จัดทาโครงร่างงาน พงปภัส
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
อิศรพงษ์
5 ปรับปรุงทดสอบ พงปภัส
6 การทาเอกสารรายงาน พงปภัส
7 ประเมินผลงาน อิศรพงษ์
8 นาเสนอโครงงาน อิศรพงษ์
9
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ที่อ่านและศึกษาทาความเข้าใจโครงงานสื่อการสอนนี้จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ด
อปเปลอร์มากยิ่งขึ้นและสามารถนาไปใช้อ่านเพื่อเตรียมตัวสอบได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์
แหล่งอ้างอิง
http://www.sa.ac.th/winyoo/Sound/sound_dopler.htm

More Related Content

งาȨาน