6. 1 ปริมาณน้าผ่านคลอง
Q = A V
Q = ปริมาณน้า ลบ.ม ต่อ วินาที
A = พื้นที่หน้าตัดทางน้า ตร.ม
V = ความเร็วเฉลี่ยของน้า ม ต่อวินาท
n = สปส.ความขรุขระของคลอง
S = ความลาดชันของเส้นพลังน้า
(energy gradeline)
R = รัศมีชลศาสตร์ ม. (Hydraulic
y
b
1
Z
A = (b+Zy) y
P = b + 2y1+Z
2
3D
ออกแบบหน้าตัดลาน้า
โดย V = 1 R S
n
2/3 1/2
7. 2 ความลึกวิกฤติ Yc (Critical Depth)
2Yc = q
g
3Yc
1หน่วย
B
q
B
Q
Q = A
g B
2 3
การไหลด้วยความลึกวิกฤติ (critical flow)คือการไหล
ของน้า
ที่เกิดในลักษณะที่ทาให้เกิด Specific Energy
น้อยที่สุด
หน้าตัด สี่เหลี่ยม
หน้าตัด ใดๆ
8. Yn 1
Q1
3 ความลึกปกติ Yn (Normal Depth)
การไหลด้วยความลึกปกติ ( normal flow ) เป็นการไหลในทางน้าใ
ที่มีความลึกคงที่โดยตลอด สาหรับค่าปริมาณน้าค่าหนึ่งๆ
9. Yn 2
Q2 > Q1
3 ความลึกปกติ Yn (Normal Depth)
การไหลด้วยความลึกปกติ ( normal flow ) เป็นการไหลในทางน้าใ
ที่มีความลึกคงที่โดยตลอด สาหรับค่าปริมาณน้าค่าหนึ่งๆ
10. Yn 3
Q3 > Q2 > Q1
3 ความลึกปกติ Yn (Normal Depth)
การไหลด้วยความลึกปกติ ( normal flow ) เป็นการไหลในทางน้าใ
ที่มีความลึกคงที่โดยตลอด สาหรับค่าปริมาณน้าค่าหนึ่งๆ
11. 3 ความลึกปกติ Yn (Normal Depth)
Yn Yn
Yn
v
2g
2
EGL
Q Q = 1 A R S
n
2/3 1/2
การไหลด้วยความลึกปกติ ( normal flow ) เป็นการไหลในทางน้าใ
ที่มีความลึกคงที่โดยตลอด สาหรับค่าปริมาณน้าค่าหนึ่งๆ
หาค่า Yn ได้ โดย Yn ติดอยู่ในตัวแปร A และ R
12. y2 = -y1 + y1 + 2 v1 y1
2 4 g
2 2
y2 = -1 + 1 + 2 F
y1 2 4
2
โดย F = v1
g y1
F คือ Froude Number
y1 y2
3D
4 ความลึกหลังเกิด Jump
13. Y1
Y1 Y2 Yn
Y2 Yn
Y1
Y2 Yn
F < 1 จะไม่เกิด hydraulic Jum
F = 1 การไหลของน้าในความลึก
F > 1 จะเกิด hydraulic Jump
14. F = 1 การไหลเมื่อความลึกปกติ
F = 1.7 – 2.5 pre-jump
F = 2.5 – 4.5 Transition
F = 4.5 – 9.0 Good jump
F > 9.0 Rough jump
การพิจารณา Froude Number F
ระดับน้าในทางน้าธรรมชาติเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่จะก่อให้เกิด
Hydraulic jump อยู่ภายในแอ่งน้านิ่ง (Stilling basin)
หรือไม่
ในกรณีที่ระดับน้าด้านท้ายน้า (ทางน้าธรรมชาติ) มีระดับต่ามาก
เกินไป
18. 1.Free Flow
Q = 2
3
C L 2 g D
3
2
โดย C = Coefficient of Discharge
C = 0.60 – 0.70
2.Submerged Flow
โดย C = Coefficient of Discharge
C = 0.60 – 0.70
Q = C L 2 g H ( D – H )
3
D H
D
3D
5 ปริมาณน้าผ่านฝาย
มี 2 รูปแบบ
19. 1.Free Flow
Q = Cd L h 2 g y
โดย Cd = Coefficient of Discharge
Cd = 0.60
2.Submerged Flowหรือ
y
h
1.Free Flow
h
y
2.Submerged Flow
3D
6 ปริมาณน้าผ่านบานโค้ง
มี 2 รูปแบบ
43. Non Homogeneous (คอนกรีตเสริมเหล็ก)
ใช้วิธี Working Stress Design
โมเมนต์ต้านทานโดยคอนกรีต Mc = ½ fc k j b d2
โมเมนต์ต้านทานโดยเหล็กเสริม Ms = As fs j d
หน่วยแรงเฉือนที่เกิดขึ้นบนหน้าตัด vc = V/(b j d)
หน่วยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้น u = V/(o j d)
Homogeneous (เช่น ไม้ เหล็ก)
หน่วยแรงตามแกน S = P/A
หน่วยแรงดัด S = M c / I
หน่วยแรงเฉือน v = (3/2)(V /
bd)
44. สัมประสิทธิ์การเลื่อนตัวในทางราบของอาคาร
P
F
F = C W
ส่วนเผื่อความปลอดภัย
(Factor of Safety)
F.S. = F/P
มีค่าอยู่ระหว่าง 1.50 –
2.0
ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน
ผิวสัมผัส C
คอนกรีต กับ กรวด 0.5
คอนกรีต กับ ทราย 0.4
คอนกรีต กับ ดินเหนียว 0.3
w
45. ความยาวของการไหลของน้าเลาะอาคาร
(Percolation Length)
Lane Weighted Creep Ratio
Cw = Lw
H
H
Lw - Weighted Creep Length หมายถึงระยะทางที่น้าไหลซึม
ผ่านใต้หรือข้างอาคาร โดยให้ความสาคัญของความยาวแล้วแต่ทิศที่น้าซึมผ่าน มีดังนี้
ก. ซึมผ่านด้านข้างของอาคาร ให้ใช้ความยาวจริง
ข. ซึมผ่านในแนวดิ่งลอดใต้พื่นอาคาร หรือชันกว่า 45 องศาให้ใช้ความยาวจริง
ค. ซึมลอดใต้อาคารในแนวราบหรือชันน้อยกว่า 45 องศา ให้ใช้เพียง 1/3ของระยะจริง
H - Different Head ระหว่างจุดที่น้าซึมเข้ากับจุดออก
Cw ต้องมีค่ามากกว่าในตารางที่ยอมให้