More Related Content
Viewers also liked (16)
PDF
Sachfx570 m shoanchinhdosoanPPT
Ciclo de Palestras AUNICA/setembro - Fabrizio BruzettiisabelaunicaPPTX
The Pegasus Mission parachute systemMatt LongPPTX
The Pegasus Mission - The Making of Pegasus IIMatt LongSimilar to พาวอร์พอยต์(พรพร)1 (20)
PPT
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadeePPT
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadeePPT
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadeeพาวอร์พอยต์(พรพร)1
- 4. หมายเลขเครือข่าย ( IP Address) บนอิȨทอร์Ȩตมีเครือข่ายนับล้านที่เชื่อมโยงถึงกันหมด ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการกำหนดหมายเลขเครือข่ายที่ทำให้แยกแยะได้ว่าเป็นเครือข่ายใด หมายเลขนี้เรียกว่า ไอพีแอดเดรส ( IP Address) เช่นเครือข่ายของสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 มีหมายเลข 203.154.104.x แต่ละเครือข่ายจะมีหมายเลขแตกต่างกัน
- 5. เมื่อเรามีวงจรสายสื่อสารเชื่อมต่อกับอิȨทอร์Ȩต เช่น ใช้วงจรสายสื่อสาร 19.2Kbps. หรือ 64Kbps. เชื่อมไปยังหน่วยงานบริการอินเทรอ์เน็ต หรือที่เรียกว่า ISP (Internet Service Provider) เราต้องขอจดทะเบียนหมายเลข IP ของเครือข่ายเรา หมายเลขนี้ขอได้ที่หน่วยงานชื่อ INTERNIC ในต่างประเทศ แต่ปัจจุบันมีการกระจายมาให้แต่ละประเทศดูแลกันเอง ผู้ขอหมายเลขจึงขอได้จากหน่วยงาน ISP ซึ่งเป็นผู้ให้บริการอิȨทอร์Ȩตนั่นเอง
- 6. การจึϸะเบียนชื่อโดมน (Domain Name) ทะเบียนชื่อโดเมนมีไว้เพื่อใช้อ้างอิงถึงกันในระบบเครือข่าย เช่น ใช้เป็นชื่อองค์กร tv5.co.th โดยจากขวามือสุด " th" คือ " ชื่อประเทศ " ถัดไป " co" คือ " ประเภทขององค์กร " และ " tv5" คือ " ชื่อองค์กร " เมื่อมี " วงจรเช่าสายสื่อสาร " " หมายเลขแอดเดรส " ( IP Address) และ " ชื่อโดเมน ( Domain Name)" แล้ว ก็สามารถสร้างโหนด ( Node) หรือเครือข่ายในองค์กรได้ เช่น โรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่าย Schoolnet ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอิȨทอร์Ȩต ก็ต้องดำเนินการให้ได้หมายเลข IP และชื่อโดเมนก่อน
- 7. อุปกรณ์เลือกเส้นทาง ( Router) การสร้างโหนด ( Node) อยู่ที่การจัดหาอุปกรณ์ ซึ่งอาจใช้อุปกรณ์หาเส้นทางขนาดเล็กที่เรียกว่าเราท์เตอร์ ( Router) เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยเข้าด้วยกัน โดยถือว่าภายในองค์กรของเรามีเครือข่ายอย่างน้อยหนึ่งเครือข่าย ที่ต้องเชื่อมเข้าสู่เครือข่ายอิȨทอร์Ȩต
- 8. สถานีบริการ (Server) ภายในเครือข่ายย่อยขององค์กร แต่ละเครือข่ายที่เชื่อมอยู่ภายในกับอุปกรณ์หาเส้นทาง ก็จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นสถานีบริการ ( Server) ถ้าเป็นสถานีบริการรับส่งจดหมาย ก็เรียกว่า Mail Server ผู้ใช้ภายในองค์กรสามารถเปิดตู้จดหมายหรือขึ้นทะเบียนเป็นผู้ใช้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์นี้ได้ ถ้าต้องการให้บริการข้อมูลข่าวสารไฮเปอร์เท็กซ์ ( Hypertext) เราก็เรียกว่า " เว็บเวิร์ฟเวอร์ " ( Web Server) เครือข่ายย่อยภายในองค์กรจึงมีลักษณะการดำเนินงานเป็นแบบผู้ขอใช้บริการกับสถานีให้บริการ (Server) ผู้ขอใช้บริการอาจใช้สถานีบริการขององค์กรเอง หรืออาจจะขอใช้ข้อมูลข่าวสารบนสถานีบริการอื่นที่อยู่บนอิȨทอร์Ȩตได้
- 9. การวางเครือข่ายภายในองค์กรจึงต้องการอุปกรณ์หาเส้นทางเป็นพื้นฐาน และสามารถขยายเครือข่ายภายในออกเป็นหลาย ๆ เครือข่ายย่อย การสร้างเครือข่ายอิȨทอร์Ȩตในองค์กร ทำให้ผู้ใช้ทุกคนเรียกเข้าหาสถานีบริการภายในหรือภายนอกองค์กรผ่านทางเครือข่ายได้สะดวก การจัดตั้งเครือข่ายอิȨทอร์Ȩตจึงไม่ใช่เรื่องยาก หากสามารถเช่าช่องสัญญาณและเชื่อมต่อกับเครือข่ายอิȨทอร์Ȩตที่ใดที่หนึ่งได้ ก็สามารถนำเครือข่ายขององค์กรทั้งหมดเป็นโหนดส่วนหนึ่งของอิȨทอร์Ȩตและกำหนดเชื่อมให้เป็นสากลได้ เครือข่ายอิȨทอร์Ȩตจึงขยายตัวได้อย่างรวดเร็วและเป้าหมายที่สำคัญ คือ ทุกองค์กรจะเป็นหน่วยหนึ่งของอิȨทอร์Ȩต