ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การใช้งาน google
             ปัจจุบันการใช้งาน Internet จะปรากฏ Web Site ให้เราสามารถเยี่ยมชมได้มากมายหลาย
ประเภท และได้มีการบรรจุข้อมูลข่าวสารอยู่ใน Web Site ต่าง ๆ ซึ่งถ้าเราต้องการค้นหาข้อมูลที่อยู่ใน
ระบบ Internet1 เราอาจใช้อุปกรณ์ Tools ที่เรียกว่า ตัวค้นหา (Search Engire) โดยตัวค้นหา (Search
Engire) นี้จะถูกบรรจุอยู่ใน Web Site ต่าง ๆ เช่น www.google.com ,www.yahoo.com,
www.lycos.com ในเอกสารนี้จะแนะนาถึงการใช้งานค้นหา (Search Engire) ของ www.google.com
ซึ่งจาเป็นตัวค้นหา (Search Engire) ที่นิยมใช้มากสุดและมีฐานข้อมูล (data base) ของ Web Site ต่าง ๆ
เป็นจานวนมาก ซึ่งจะมีรูปแบบที่มีคาอธิบายการใช้งานเป็นภาษาไทยที่ Web Site www.google.co.th
             เมื่อเราพิมพ์ที่อยู่ www.google.co.th ลงในช่อง Addres แล้วกด Enter จะปรากฏหน้าแรก
ของ Web Site ซึ่งจะมีส่วนประกอบต่าง ๆ ดังรูป




                                                                            1
                                                                                  4
                      3
                                                                                          5
        2

                                                                                          9
        6                                                                                 10


                     7                                                                    11
                                                                        8



                  รูปแสดงส่วนประกอบต่างๆ ในหน้าค้นหาของ www.google.co.th
 โดยที่มีส่วนประกอบต่างๆ คือ
            1) เป็น Logo ของ www.google.co.th
            2) เป็นประเภทของการค้นหาว่าให้ค้นหาข้อมูลที่อยู่ในเว็บ(Web Site)
            3) เป็นประเภทของการค้นหาว่าให้ค้นหา ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ
            4) เป็นประเภทของการค้นหาที่แยกตามกลุ่มข่าวเรียงตาม Usenet
5) เป็นประเภทของการค้นหาโดยจะแยกเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ เช่น Arts, Home, Business,
               Gomes เป็นต้น
          ซึ่งตัวเลือกในข้อ 2-5 เมื่อเรากดคลิกที่แถบใดแถบหนึ่งก็จะปรากฏเป็นแถบเข้มที่เราเลือกไว้
โดยปกติแล้วเมื่อเราเปิดหน้าแรกขึ้นมา Web Site google จะกาหนดการค้นหาให้ไว้ที่เว็บ
          6) เป็นช่องสาหรับใส่ค่า (keyward) ที่เราต้องการค้นหา
          7) เป็นปุ่มกดสาหรับเริ่มการค้นหา
          8) เป็นปุ่มสาหรับค้นหาเว็บอย่างด่วน โดยการค้นหาจะนาเว็บที่อยู่อยู่ในลาดับแรกที่อยู่ใน
               ลาดับแรกที่ค้นหาพบ มาเปิดให้ในหน้าถัดไปเลย
          9) เป็นตัวเลือกสาหรับการค้นหาแบบละเอียดโดยในตัวเลือกนี้จะมีการกาหนดเงื่อนไขใน
               การค้นหาเพื่อให้ได้ผลการค้นหาที่ละเอียดยิ่งขึ้น เช่น ภาษา, ชนิดไฟล์, วันที่ เป็นต้น
          10) เป็นตัวเลือกสาหรับการปรับแต่งตัวเลือกใช้สาหรับการปรับแต่งรูปแบบเครื่องมือใน
               การค้นหา เช่น จานวน เว็ปที่แสดงในการค้นหาต่อหน้า
          11) เป็นตัวเลือกสาหรับเครื่องมือเกี่ยวกับภาษาเพื่อใช้ในการค้นหา
การใช้งาน Google
          ถ้าเราต้องการค้นหา คาว่าฟิสิกส์ เราทาได้โดยพิมพ์คาว่า ฟิสิกส์ ลงในช่องสาหรับใส่คาที่
ต้องการค้นหา ( keyword) แล้วกดปุ่ม ค้นหาโดย Google




จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้
การค้นหาจะแจ้งจานวนเว็บที่แสดง จานวนเว็บที่พบ และเวลาที่ใช้ในการค้นหา ในกรณีที่การค้นหาพบ
ข้อมูลมากกว่า ที่จะแสดงในได้หมดใน 1 หน้า ทาง www.google.co.th ก็จะแสดงหน้าถัดไปได้โดยเรา
สามารถแถบ ที่ตอนล่างของหน้า Web Site
การค้นหาของ www.goole.co.th จะมีคาสั่งในการค้นหาโดย
          1) Google จะใช้เงื่อนไข “และ” (and) ในการค้นหาในรูปแบบของประโยคอยุ่เสมอ
                เช่น ถ้าเราต้องการค้นหาประโยคที่ว่า “ฟิสิกส์ โมเมนตัม”




          จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้




           2) ถ้าเราต้องการใช้เงื่อนไข “หรือ” (OR) สาหรับเชื่อมคาที่ต้องการค้นหา คือ นาผลที่
ค้นหาได้ของทั้งหมดมารวมกัน ซึ่งเราทาได้โดยใช้คาว่า OR เป็นตัวอักษรใหญ่ระหว่างค่าที่ต้องการ
ค้นหา เช่น ถ้าเราต้องค้นหาว่าประโยคที่ว่า “ฟิสิกส์ OR โมเมนตัม“
จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้




           3) การค้นหาของ google สามารถค้นหาแบบเป็นกลุ่มคาหรือเป็นวลีเราสามารถใช้
เครื่องหมาย “ ” เช่น “physics momentum”




         4)    Google จะสามารถค้นหาไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ โดยประเภทไฟล์ที่รองรับคือ
               - Adobe Portable Document Format (มีนามสกุล เป็น pdf)
               - Adobe Post Script (มีนามสกุลเป็น ps)
               - Lotus 1-2-3 (มีนามสกุลเป็น wk 1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
- Lotus Wordpro (มีนามสกุลเป็น lwp)
               - MacWrite (มีนามสกุลเป็น mw)
               - Microsoft Word (มีนามสกุลเป็น doc)
               - Microsoft Excel (มีนามสกุลเป็น xls)
               - Microsoft Power Point (มีนามสกุลเป็น ppt )
               - Text File (มีนามสกุลเป็น txt )
         เราสามารถค้นหาโดยระบุชนิดของไฟล์ที่เราต้องการค้นหาได้โดยใช้ค่าว่า filetype : แล้ว
ตามด้วยนามสกุลของไฟล์ที่เราต้องการค้นหา เช่น




           คือเราต้องการค้นหา Website ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์โดยมีรูปแบบไฟล์เป็นที่มีนามสกุล ppt
คือเป็นไฟล์ Microsoft Power Point จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้




           ซึ่งเราสามารถ download มาเก็บไว้ในเครื่องของเรา ได้โดยคลิกเมาส์ขวาแล้วเลือกแถบ
Save Target As
5) Google สามารถตัดคาที่เป็นคาพ้องรูปโดยใช้เครื่องหมาย “ - ” เช่นคาว่า bass มี
ความหมายเกี่ยวกับปลาและดนตรี ในเวลาที่เราต้องการตัดความหมายเกี่ยวกับดนตรีก็ทาได้โดยพิมพ์ว่า
bass-music นอกจากนี้ยังสามารถตัดชนิดของไฟล์ที่ต้องการค้นหาได้ เช่น ต้องการค้นหาคาว่า bass
โดยตัดการค้นหาชนิดไฟล์ที่เป็น pdf ออกก็ทาได้โดยพิมพ์ bass -filetype : pdf
            6) ในการค้นหาโดยปกติแล้ว Google จะละคาทั่ว ๆ ไปในภาษาอังกฤษ เช่น the, to, of
และอักษรตัวเดียวเพราะจะทาให้การค้นหาช้า แต่ถ้าเราต้องการรวมคาเหล่านั้นในการค้นหาทาได้โดย
ใช้เครื่องหมาย + ไว้หน้าคานั้นโดยต้องเว้นวรรคก่อน เช่น back + to nature




           จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้




7)         Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยัง Website นั้น โดยใช้คาว่า link : แล้วตาม
ด้วยชื่อ Website นั้น เช่น link : www.google.com
วิธีการแสวงหาความรู้


1. จากประสบการณ์ (Experience)
เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ความจริงจากการค้นพบด้วยตนเองโดยอาศัยประสบการณ์ของตนมาแก้ปัญหา
การเรียนรู้และการแก้ปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิธีที่ตั้งใจหรือไม่ก็ตาม เรียกว่า การแสวงหาความรู้แบบบังเอิญ (By
chance) หรือโดยวิธีเจตนา การลองผิดลองถูก (By trial and error) เป็นต้น
                    2. จากผู้รู้ (Authority)
เป็นการได้รับความรู้จากคาบอกเล่าของผู้อื่นที่เป็นผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญหรือบุคคลที่มีอานาจหน้าที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป
ได้แก่ นักปราชญ์ ผู้นา นักบวช ที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดหลักคาสอนทางศาสนา
มนุษย์ในสมัยโบราณยกย่องความคิดของบุคคลเหล่านี้ว่าเป็นจริงตลอดเวลา ใครจะขัดแย้งต่อความคิดเหล่านี้ไม่ได้
นอกจากนี้ความรู้ดังกล่าวอาจมาจากการอ่านหนังสือ และเชื่อคาบอกเล่า
หากความรู้บางอย่างมีการพัฒนาเป็นสิ่งที่ยอมรับ หรือเป็นข้อตกลงกันในสังคม หรือเป็นความเชื่อ (Belief)
ลักษณะความรู้ประเภทนี้เป็นสิ่งสร้างลักษณะทางสังคม ทาให้เกิดการรวมกลุ่มจนกลายเป็นประเพณีและบอกเล่าต่อๆ
มา เรียกว่า การแสวงหาความรู้ความจริงโดยขนบธรรมเนียมประเพณี (By tradition)
                      3. เหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning) เป็นวิธีการทางตรรกวิทยา (
Logic) โดยอริสโตเติล (Aristotle) เป็นผู้คิดขึ้น ในเป็นการแสวงหาความรู้ความจริงอย่างมีเหตุมีผล
จากความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ 3 ส่วน คือ
                      ข้อเท็จจริงหลัก (Major premise)
เป็นข้อตกลงที่กาหนดขึ้นเป็นข้อเท็จจริงในวงกว้าง
                      ข้อเท็จจริงย่อย (Minor premise) เป็นเหตุเฉพาะกรณีใดๆเป็นข้อเท็จจริงใน
วงแคบที่มีความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงหลัก
                     ข้อสรุป (Conclusion
) เป็นข้อสรุปจากความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงหลักและข้อเท็จจริงย่อย
                     หรืออาจกล่าวได้ว่า การอนุมานเป็นการสรุปจากส่วนใหญ่ไปส่วนย่อย

ตัวอย่างการอนุมาน : เหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning)
                   ข้อเท็จจริงหลัก (Major premise): ผู้หญิงที่เข้าประกวดนางสาวไทยทุกคนเป็นคนสวย
                   ข้อเท็จจริงย่อย (Minor premise): สุจิราเป็นผู้หญิงที่เข้าประกวดนางสาวไทยคนหนึ่ง
                   ข้อสรุป (Conclusion): สุจิราเป็นผู้หญิงสวยที่เข้าประกวดนางสาวไทย


                   4. เหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) เป็นวิธีการทางตรรกวิทยา (L
ogic) เช่นกันซึ่ง ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) มองว่าการหาความรู้จากเหตุผลการอนุมาน (Ded
uctive Reasoning) อาจไม่เป็นความจริงเสมอไปเพราะเป็นการอ้างเหตุผล โดยการใช้ภาษา
ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดใหม่ว่า การแสวงหาความรู้ความจริงนั้นต้องดูจากของจริงจึงจะเชื่อถือได้
โดยเก็บรวบรวมข้อมูลย่อย หรือข้อเท็จจริงย่อย ซึ่งเป็นการนาเหตุผลจากส่วนย่อยต่างๆ
นามาจัดประเภทดูสิ่งที่เหมือนกัน แล้วค่อยแปลความหมาย หรือนามาสรุปน่าจะเป็นเหตุผลเชื่อถือได้มากกว่า
เพราะต้องอาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลย่อยเหล่านี้
มาพิจารณาหาความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันแล้วจึงสรุปออกมาเป็นเหตุผล
จึงกล่าวได้ว่าการอุปมานเป็นสรุปจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่

ตัวอย่างการอุปมาน :
                   เหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning)
                   พ่อเป็นแมว แม่เป็นแมว ฉันเป็นแมว สรุปได้ว่าครอบครัวฉันเป็นแมว

                      5. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Approach)
เป็นวิธีแสวงหาความรู้ของมนุษย์ที่ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และจอห์น ดิวอี้ (John Dewe
y)ได้พัฒนาและนาแนวคิดเชิงย้อนกลับ (Reflective Thinking) และแนวคิดการแก้ปัญหา (Problem
Solving) มาเป็นพื้นฐานในการคิดเป็นกระบวนการศึกษาข้อเท็จจริงและความรู้ต่างๆ โดยผ่านการสังเกต
การดาเนินการตามหลักตรรกศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีต่างๆ
การทดสอบการค้นพบการทบทวนและการทาซ้าผลิตความรู้ใหม่จากกระบวนการที่มีความสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องเป็
นวัฏจักร โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การพิจารณาให้ใกล้ความจริงมากที่สุด โดยอาศัยการศึกษาข้อเท็จจริง
ทฤษฎีและการทดสอบเครื่องมือ
ดังนั้นวิธีการวิทยาศาสตร์
ถือว่าเป็นวิธีการที่มีหลักเกณฑ์และเหตุผลที่สามารถอธิบายได้มีลักษณะการศึกษาที่เป็นระบบ
ตรงไปตรงมาปราศจากความลาเอียงและสามารถพิสูจน์ได้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนด้วยกัน
ซึ่งเรียกว่าขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้
                              1. ขั้นปัญหา (Problem)
เป็นการระบุและกาหนดขอบเขตของปัญหาของสิ่งที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน
                              2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypotheses)
เป็นการคาดเดาหรือคาดคะเนคาตอบของปัญหาไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล
                              3. ขั้นรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
เป็นการรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกี่ยวกับประเด็นปัญหาที่กาหนด
                             4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) เป็นการจัดกระทากับข้อมูลที่รวบรวม มาได้
โดยวิธีการตรรกศาสตร์หรือวิธีการทางสถิติ เพื่อตรวจสอบสมติฐานที่ตั้งไว้
5. ขั้นสรุปผล (Conclusion)
เป็นการสรุปจากการวิเคราะห์ข้อมูลว่าข้อเท็จจริงของปัญหาที่แท้จริงนั้นคืออะไร

More Related Content

การใช้งาน Google

  • 1. การใช้งาน google ปัจจุบันการใช้งาน Internet จะปรากฏ Web Site ให้เราสามารถเยี่ยมชมได้มากมายหลาย ประเภท และได้มีการบรรจุข้อมูลข่าวสารอยู่ใน Web Site ต่าง ๆ ซึ่งถ้าเราต้องการค้นหาข้อมูลที่อยู่ใน ระบบ Internet1 เราอาจใช้อุปกรณ์ Tools ที่เรียกว่า ตัวค้นหา (Search Engire) โดยตัวค้นหา (Search Engire) นี้จะถูกบรรจุอยู่ใน Web Site ต่าง ๆ เช่น www.google.com ,www.yahoo.com, www.lycos.com ในเอกสารนี้จะแนะนาถึงการใช้งานค้นหา (Search Engire) ของ www.google.com ซึ่งจาเป็นตัวค้นหา (Search Engire) ที่นิยมใช้มากสุดและมีฐานข้อมูล (data base) ของ Web Site ต่าง ๆ เป็นจานวนมาก ซึ่งจะมีรูปแบบที่มีคาอธิบายการใช้งานเป็นภาษาไทยที่ Web Site www.google.co.th เมื่อเราพิมพ์ที่อยู่ www.google.co.th ลงในช่อง Addres แล้วกด Enter จะปรากฏหน้าแรก ของ Web Site ซึ่งจะมีส่วนประกอบต่าง ๆ ดังรูป 1 4 3 5 2 9 6 10 7 11 8 รูปแสดงส่วนประกอบต่างๆ ในหน้าค้นหาของ www.google.co.th โดยที่มีส่วนประกอบต่างๆ คือ 1) เป็น Logo ของ www.google.co.th 2) เป็นประเภทของการค้นหาว่าให้ค้นหาข้อมูลที่อยู่ในเว็บ(Web Site) 3) เป็นประเภทของการค้นหาว่าให้ค้นหา ข้อมูลที่เป็นรูปภาพ 4) เป็นประเภทของการค้นหาที่แยกตามกลุ่มข่าวเรียงตาม Usenet
  • 2. 5) เป็นประเภทของการค้นหาโดยจะแยกเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ เช่น Arts, Home, Business, Gomes เป็นต้น ซึ่งตัวเลือกในข้อ 2-5 เมื่อเรากดคลิกที่แถบใดแถบหนึ่งก็จะปรากฏเป็นแถบเข้มที่เราเลือกไว้ โดยปกติแล้วเมื่อเราเปิดหน้าแรกขึ้นมา Web Site google จะกาหนดการค้นหาให้ไว้ที่เว็บ 6) เป็นช่องสาหรับใส่ค่า (keyward) ที่เราต้องการค้นหา 7) เป็นปุ่มกดสาหรับเริ่มการค้นหา 8) เป็นปุ่มสาหรับค้นหาเว็บอย่างด่วน โดยการค้นหาจะนาเว็บที่อยู่อยู่ในลาดับแรกที่อยู่ใน ลาดับแรกที่ค้นหาพบ มาเปิดให้ในหน้าถัดไปเลย 9) เป็นตัวเลือกสาหรับการค้นหาแบบละเอียดโดยในตัวเลือกนี้จะมีการกาหนดเงื่อนไขใน การค้นหาเพื่อให้ได้ผลการค้นหาที่ละเอียดยิ่งขึ้น เช่น ภาษา, ชนิดไฟล์, วันที่ เป็นต้น 10) เป็นตัวเลือกสาหรับการปรับแต่งตัวเลือกใช้สาหรับการปรับแต่งรูปแบบเครื่องมือใน การค้นหา เช่น จานวน เว็ปที่แสดงในการค้นหาต่อหน้า 11) เป็นตัวเลือกสาหรับเครื่องมือเกี่ยวกับภาษาเพื่อใช้ในการค้นหา การใช้งาน Google ถ้าเราต้องการค้นหา คาว่าฟิสิกส์ เราทาได้โดยพิมพ์คาว่า ฟิสิกส์ ลงในช่องสาหรับใส่คาที่ ต้องการค้นหา ( keyword) แล้วกดปุ่ม ค้นหาโดย Google จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้
  • 3. การค้นหาจะแจ้งจานวนเว็บที่แสดง จานวนเว็บที่พบ และเวลาที่ใช้ในการค้นหา ในกรณีที่การค้นหาพบ ข้อมูลมากกว่า ที่จะแสดงในได้หมดใน 1 หน้า ทาง www.google.co.th ก็จะแสดงหน้าถัดไปได้โดยเรา สามารถแถบ ที่ตอนล่างของหน้า Web Site
  • 4. การค้นหาของ www.goole.co.th จะมีคาสั่งในการค้นหาโดย 1) Google จะใช้เงื่อนไข “และ” (and) ในการค้นหาในรูปแบบของประโยคอยุ่เสมอ เช่น ถ้าเราต้องการค้นหาประโยคที่ว่า “ฟิสิกส์ โมเมนตัม” จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้ 2) ถ้าเราต้องการใช้เงื่อนไข “หรือ” (OR) สาหรับเชื่อมคาที่ต้องการค้นหา คือ นาผลที่ ค้นหาได้ของทั้งหมดมารวมกัน ซึ่งเราทาได้โดยใช้คาว่า OR เป็นตัวอักษรใหญ่ระหว่างค่าที่ต้องการ ค้นหา เช่น ถ้าเราต้องค้นหาว่าประโยคที่ว่า “ฟิสิกส์ OR โมเมนตัม“
  • 5. จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้ 3) การค้นหาของ google สามารถค้นหาแบบเป็นกลุ่มคาหรือเป็นวลีเราสามารถใช้ เครื่องหมาย “ ” เช่น “physics momentum” 4) Google จะสามารถค้นหาไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ โดยประเภทไฟล์ที่รองรับคือ - Adobe Portable Document Format (มีนามสกุล เป็น pdf) - Adobe Post Script (มีนามสกุลเป็น ps) - Lotus 1-2-3 (มีนามสกุลเป็น wk 1, wk2, wk3, wk4, wk5, wki, wks, wku)
  • 6. - Lotus Wordpro (มีนามสกุลเป็น lwp) - MacWrite (มีนามสกุลเป็น mw) - Microsoft Word (มีนามสกุลเป็น doc) - Microsoft Excel (มีนามสกุลเป็น xls) - Microsoft Power Point (มีนามสกุลเป็น ppt ) - Text File (มีนามสกุลเป็น txt ) เราสามารถค้นหาโดยระบุชนิดของไฟล์ที่เราต้องการค้นหาได้โดยใช้ค่าว่า filetype : แล้ว ตามด้วยนามสกุลของไฟล์ที่เราต้องการค้นหา เช่น คือเราต้องการค้นหา Website ที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์โดยมีรูปแบบไฟล์เป็นที่มีนามสกุล ppt คือเป็นไฟล์ Microsoft Power Point จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้ ซึ่งเราสามารถ download มาเก็บไว้ในเครื่องของเรา ได้โดยคลิกเมาส์ขวาแล้วเลือกแถบ Save Target As
  • 7. 5) Google สามารถตัดคาที่เป็นคาพ้องรูปโดยใช้เครื่องหมาย “ - ” เช่นคาว่า bass มี ความหมายเกี่ยวกับปลาและดนตรี ในเวลาที่เราต้องการตัดความหมายเกี่ยวกับดนตรีก็ทาได้โดยพิมพ์ว่า bass-music นอกจากนี้ยังสามารถตัดชนิดของไฟล์ที่ต้องการค้นหาได้ เช่น ต้องการค้นหาคาว่า bass โดยตัดการค้นหาชนิดไฟล์ที่เป็น pdf ออกก็ทาได้โดยพิมพ์ bass -filetype : pdf 6) ในการค้นหาโดยปกติแล้ว Google จะละคาทั่ว ๆ ไปในภาษาอังกฤษ เช่น the, to, of และอักษรตัวเดียวเพราะจะทาให้การค้นหาช้า แต่ถ้าเราต้องการรวมคาเหล่านั้นในการค้นหาทาได้โดย ใช้เครื่องหมาย + ไว้หน้าคานั้นโดยต้องเว้นวรรคก่อน เช่น back + to nature จะได้ผลการค้Ȩาต่อไปȨ้ 7) Google สามารถค้นหา link ทั้งหมดที่เชื่อมไปยัง Website นั้น โดยใช้คาว่า link : แล้วตาม ด้วยชื่อ Website นั้น เช่น link : www.google.com
  • 8. วิธีการแสวงหาความรู้ 1. จากประสบการณ์ (Experience) เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ความจริงจากการค้นพบด้วยตนเองโดยอาศัยประสบการณ์ของตนมาแก้ปัญหา การเรียนรู้และการแก้ปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิธีที่ตั้งใจหรือไม่ก็ตาม เรียกว่า การแสวงหาความรู้แบบบังเอิญ (By chance) หรือโดยวิธีเจตนา การลองผิดลองถูก (By trial and error) เป็นต้น 2. จากผู้รู้ (Authority) เป็นการได้รับความรู้จากคาบอกเล่าของผู้อื่นที่เป็นผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญหรือบุคคลที่มีอานาจหน้าที่เป็นที่ยอมรับทั่วไป ได้แก่ นักปราชญ์ ผู้นา นักบวช ที่ทาหน้าที่ถ่ายทอดหลักคาสอนทางศาสนา มนุษย์ในสมัยโบราณยกย่องความคิดของบุคคลเหล่านี้ว่าเป็นจริงตลอดเวลา ใครจะขัดแย้งต่อความคิดเหล่านี้ไม่ได้ นอกจากนี้ความรู้ดังกล่าวอาจมาจากการอ่านหนังสือ และเชื่อคาบอกเล่า หากความรู้บางอย่างมีการพัฒนาเป็นสิ่งที่ยอมรับ หรือเป็นข้อตกลงกันในสังคม หรือเป็นความเชื่อ (Belief) ลักษณะความรู้ประเภทนี้เป็นสิ่งสร้างลักษณะทางสังคม ทาให้เกิดการรวมกลุ่มจนกลายเป็นประเพณีและบอกเล่าต่อๆ มา เรียกว่า การแสวงหาความรู้ความจริงโดยขนบธรรมเนียมประเพณี (By tradition) 3. เหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning) เป็นวิธีการทางตรรกวิทยา ( Logic) โดยอริสโตเติล (Aristotle) เป็นผู้คิดขึ้น ในเป็นการแสวงหาความรู้ความจริงอย่างมีเหตุมีผล จากความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ข้อเท็จจริงหลัก (Major premise) เป็นข้อตกลงที่กาหนดขึ้นเป็นข้อเท็จจริงในวงกว้าง ข้อเท็จจริงย่อย (Minor premise) เป็นเหตุเฉพาะกรณีใดๆเป็นข้อเท็จจริงใน วงแคบที่มีความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงหลัก ข้อสรุป (Conclusion ) เป็นข้อสรุปจากความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงหลักและข้อเท็จจริงย่อย หรืออาจกล่าวได้ว่า การอนุมานเป็นการสรุปจากส่วนใหญ่ไปส่วนย่อย ตัวอย่างการอนุมาน : เหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning) ข้อเท็จจริงหลัก (Major premise): ผู้หญิงที่เข้าประกวดนางสาวไทยทุกคนเป็นคนสวย ข้อเท็จจริงย่อย (Minor premise): สุจิราเป็นผู้หญิงที่เข้าประกวดนางสาวไทยคนหนึ่ง ข้อสรุป (Conclusion): สุจิราเป็นผู้หญิงสวยที่เข้าประกวดนางสาวไทย 4. เหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) เป็นวิธีการทางตรรกวิทยา (L
  • 9. ogic) เช่นกันซึ่ง ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) มองว่าการหาความรู้จากเหตุผลการอนุมาน (Ded uctive Reasoning) อาจไม่เป็นความจริงเสมอไปเพราะเป็นการอ้างเหตุผล โดยการใช้ภาษา ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดใหม่ว่า การแสวงหาความรู้ความจริงนั้นต้องดูจากของจริงจึงจะเชื่อถือได้ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลย่อย หรือข้อเท็จจริงย่อย ซึ่งเป็นการนาเหตุผลจากส่วนย่อยต่างๆ นามาจัดประเภทดูสิ่งที่เหมือนกัน แล้วค่อยแปลความหมาย หรือนามาสรุปน่าจะเป็นเหตุผลเชื่อถือได้มากกว่า เพราะต้องอาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลย่อยเหล่านี้ มาพิจารณาหาความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันแล้วจึงสรุปออกมาเป็นเหตุผล จึงกล่าวได้ว่าการอุปมานเป็นสรุปจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ ตัวอย่างการอุปมาน : เหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) พ่อเป็นแมว แม่เป็นแมว ฉันเป็นแมว สรุปได้ว่าครอบครัวฉันเป็นแมว 5. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Approach) เป็นวิธีแสวงหาความรู้ของมนุษย์ที่ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) และจอห์น ดิวอี้ (John Dewe y)ได้พัฒนาและนาแนวคิดเชิงย้อนกลับ (Reflective Thinking) และแนวคิดการแก้ปัญหา (Problem Solving) มาเป็นพื้นฐานในการคิดเป็นกระบวนการศึกษาข้อเท็จจริงและความรู้ต่างๆ โดยผ่านการสังเกต การดาเนินการตามหลักตรรกศาสตร์ตามแนวคิดทฤษฎีต่างๆ การทดสอบการค้นพบการทบทวนและการทาซ้าผลิตความรู้ใหม่จากกระบวนการที่มีความสัมพันธ์กันและเกี่ยวข้องเป็ นวัฏจักร โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การพิจารณาให้ใกล้ความจริงมากที่สุด โดยอาศัยการศึกษาข้อเท็จจริง ทฤษฎีและการทดสอบเครื่องมือ ดังนั้นวิธีการวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นวิธีการที่มีหลักเกณฑ์และเหตุผลที่สามารถอธิบายได้มีลักษณะการศึกษาที่เป็นระบบ ตรงไปตรงมาปราศจากความลาเอียงและสามารถพิสูจน์ได้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนด้วยกัน ซึ่งเรียกว่าขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้ 1. ขั้นปัญหา (Problem) เป็นการระบุและกาหนดขอบเขตของปัญหาของสิ่งที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (Hypotheses) เป็นการคาดเดาหรือคาดคะเนคาตอบของปัญหาไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล 3. ขั้นรวบรวมข้อมูล (Collecting data) เป็นการรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกี่ยวกับประเด็นปัญหาที่กาหนด 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) เป็นการจัดกระทากับข้อมูลที่รวบรวม มาได้ โดยวิธีการตรรกศาสตร์หรือวิธีการทางสถิติ เพื่อตรวจสอบสมติฐานที่ตั้งไว้