ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
แผนที่ความคิด: Mind Mapping
ศิริพรรณ ชาญสุกิจเมธี
งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
Mind map คืออะไร
เป็นการนาเอาทฤษฎีที่เกี่ยวกับสมองมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างสูงสุดโดยเฉพาะเกี่ยวกับกระบวนการ
เรียนรู้ของมนุษย์
การเขียนแผนที่ความคิด เกิดจากการใช้ทักษะ
ทั้งหมดของสมอง เป็นการทางานร่วมกันของสมองทั้ง
สองซีก คือ สมองซีกซ้ายและซีกขวา
สมองซีกขวา สมองซีกซ้าย
จะทาหน้าที่ จะทาหน้าที่ในการ
สังเคราะห์ วิเคราะห์ คา ภาษา
คิดสร้างสรรค์ สัญลักษณ์ ลาดับ
จินตนาการ ระบบ ความเป็นเหตุเป็นผล
ความงาม ศิลปะ ตรรกวิทยา
จังหวะ
2
Mind map
ความเป็นมา
โทนี บูซาน (Tony Buzan)
นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดริเริ่ม
เป็นผู้นาเอาความรู้เรื่องสมองมาปรับใช้
กับการเรียนรู้ของเขา
โดยพัฒนาการจากการจดบันทึก
แบบเดิมที่จดบันทึกเป็นตัวอักษร
เป็นบรรทัด ๆ เป็นแถว ๆเปลี่ยนมาเป็นบันทึกด้วยคา ภาพ
สัญลักษณ์แบบแผ่รัศมีออก
รอบๆ ศูนย์กลางเหมือนการแตก
กิ่งก้านของต้นไม้
(การแตกของ
เส้นเซลสมอง)
โดยใช้สีสัน 3
Mind map
ต่อมาโทนี บูซาน พบว่า
วิธีที่เขาใช้นั้นสามารถนาไป
ใช้กับกิจกรรมอื่นๆ ทั้งใน
ชีวิตส่วนตัวและชีวิตการงาน
เช่น การวางแผน
การตัดสินใจ การช่วยจา
การแก้ปัญหา การนาเสนองาน และการเขียนหนังสือ
เป็นต้น อาจารย์ธัญญา ผลอนันต์ เป็นผู้นา
ความคิดและวิธีการเขียนแผนที่ความคิด
เข้ามาใช้ และเผยแพร่ในประเทศไทย ใน
ปี 2541 งานพัฒนาคุณภาพฝ่ายการ
พยาบาลฯ เรียนรู้จาก อาจารย์ลือรัตน์
อนุรัตน์พานิช
4
Mind map
การนาแนวคิด เทคนิค Mind map มาใช้จะเป็น
ประโยชน์อย่างยิ่งกับผู้ที่มีหน้าที่จัดการเรียนรู้ ตั้งแต่
การวางแผน การจัดกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนรู้
สาหรับผู้เรียนนั้น จะสามารถพัฒนาทักษะในการเรียนรู้
ศาสตร์และศิลปะด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น เช่น สามารถช่วยคิด
จา บันทึก การนาเสนอ
ข้อมูล และช่วยแก้ปัญหา
ได้อย่างเป็นรูปธรรม
ทาให้การเรียนรู้เป็นเรื่อง
ที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา
ยิ่งขึ้น
5
Mind map
• Mind Map คือ เครื่องมือที่ช่วยในการจัดการระบบ
ความคิดที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เรียบง่ายที่สุด มี
รูปแบบการจดบันทึกที่สร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ
• เป็นการถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่
ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการ
โยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัด ๆ
• ใช้การสื่อความหมายด้วยข้อความและรูปภาพ
คล้ายๆ การแตกกิ่งก้านของต้นไม้
• เสริมสร้างทักษะในการ
วิเคราะห์ และการสังเคราะห์
ข้อมูล อันเป็นพื้นฐานในการ
เรียนรู้จัดระเบียบความคิด
จาได้ทนนาน 6
การเขียน Mind Map
1. เตรียมอุปกรณ์การเขียน ได้แก่
- กระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัด : A4
- สีไม้ สีเมจิ สีเทียน สีชอล์ค ปากกาหลายๆสี
2. วิธีการเขียน
- วางกระดาษแนวนอน เริ่มต้นจากกลาง
หน้ากระดาษ เพราะจะช่วยให้มีอิสระในการคิดแผ่
ขยายได้ตามธรรมชาติ
7
การเขียน Mind Map
- เริ่มที่ศูนย์กลางซึ่งเรียกว่า “แก่นแกน”
- แตกสู่ “กิ่งแก้ว”
- ลงสู่ “กิ่งก้อย”
- แตกไปเรื่อยๆ
- ตันก็เปลี่ยนกิ่ง
- ต่อเติมเมื่อจาเป็น
* วาดกิ่งที่มีสัญลักษณ์
เป็นเส้นโค้ง
* ใช้รูปภาพหรือ
สัญลักษณ์ ประกอบ
* ใช้สีสันให้ทั่วทั้งแผ่น
* กิ่งก้อยที่แตกแขนงออกมากิ่งแก้วควรมีสี
เดียวกันทั้งแขนง 8
การเขียน Mind Map
3. รวบรวมความสัมพันธ์ของเนื้อหา จัดจาแนก และ
วาดแยกตามความสัมพันธ์
4. เขียนข้อความให้สั้นกระชับได้ใจความ
5. พยายามเว้นที่ว่างเพื่อให้สามารถขยายได้เมื่อมี
การรวบรวมความคิดเพิ่มเติม
6. เพื่อให้สามารถจัดจาแนกกลุ่มความคิดได้ดีควร
ใช้ปากกาหลายสี
7. อาจเลือกใช้การวาดภาพเพื่อให้สามารถเข้าใจ
และจดจาได้ง่ายยิ่งขึ้น
9
สิ่งที่ไม่ควรทา
• ล้อมกรอบแกนแก่น
• ที่ 3 , 6 , 9 , 12
นาฬิกา
• ลักษณะของกิ่ง
เอนไม่เกิน 60 องศา
• กิ่งแตกออกมา
จากศูนย์กลาง
ไม่ควรเกิน 8 กิ่ง
10
ประโยชน์ของ Mind Map
• ทาให้เห็นภาพรวมกว้างๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือ
ขอบเขตของเรื่อง
• สามารถจาแนกกลุ่มความคิดได้อย่างชัดเจน ช่วย
ให้ผู้ใช้งานสามารถจับประเด็น และเข้าใจได้ง่าย
ยิ่งขึ้น
• สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไว้ในกระดาษ
แผ่นเดียวกัน
• ทาให้สามารถวางแผนหรือตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง
เพราะรู้ว่าตรงไหนกาลังจะไปไหนหรือผ่านอะไรบ้าง
• กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้
มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์
11
ประโยชน์ของ Mind Map
• ใช้ระดมความคิดเห็น (Brain storming )
• ใช้ประกอบการเรียนการสอน (Teaching)
• ใช้สรุปรายงานการประชุม (Meeting minutes)
• ใช้วางแผนโครงการ (Project planning)
• ใช้ในการอบรมและบรรยายที่ต่างๆ (Training)
• ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ความรู้ แนวคิด (capture
tacit knowledge)
12
ข้อดีของ Mind Map
• สร้างความเพลิดเพลินในการอ่าน และง่ายต่อการ
จดจา
• สนุก
• ไม่เบื่อ
• สวยงาม
13
ตัวอย่าง
14
ตัวอย่าง
15
ตัวอย่าง
16
17
ทดลองฝึกปฏิบัติการเขียน Mind Map
18

More Related Content

เรียนรู้การเขียน Mind mapping

  • 1. แผนที่ความคิด: Mind Mapping ศิริพรรณ ชาญสุกิจเมธี งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
  • 2. Mind map คืออะไร เป็นการนาเอาทฤษฎีที่เกี่ยวกับสมองมาใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่างสูงสุดโดยเฉพาะเกี่ยวกับกระบวนการ เรียนรู้ของมนุษย์ การเขียนแผนที่ความคิด เกิดจากการใช้ทักษะ ทั้งหมดของสมอง เป็นการทางานร่วมกันของสมองทั้ง สองซีก คือ สมองซีกซ้ายและซีกขวา สมองซีกขวา สมองซีกซ้าย จะทาหน้าที่ จะทาหน้าที่ในการ สังเคราะห์ วิเคราะห์ คา ภาษา คิดสร้างสรรค์ สัญลักษณ์ ลาดับ จินตนาการ ระบบ ความเป็นเหตุเป็นผล ความงาม ศิลปะ ตรรกวิทยา จังหวะ 2
  • 3. Mind map ความเป็นมา โทนี บูซาน (Tony Buzan) นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดริเริ่ม เป็นผู้นาเอาความรู้เรื่องสมองมาปรับใช้ กับการเรียนรู้ของเขา โดยพัฒนาการจากการจดบันทึก แบบเดิมที่จดบันทึกเป็นตัวอักษร เป็นบรรทัด ๆ เป็นแถว ๆเปลี่ยนมาเป็นบันทึกด้วยคา ภาพ สัญลักษณ์แบบแผ่รัศมีออก รอบๆ ศูนย์กลางเหมือนการแตก กิ่งก้านของต้นไม้ (การแตกของ เส้นเซลสมอง) โดยใช้สีสัน 3
  • 4. Mind map ต่อมาโทนี บูซาน พบว่า วิธีที่เขาใช้นั้นสามารถนาไป ใช้กับกิจกรรมอื่นๆ ทั้งใน ชีวิตส่วนตัวและชีวิตการงาน เช่น การวางแผน การตัดสินใจ การช่วยจา การแก้ปัญหา การนาเสนองาน และการเขียนหนังสือ เป็นต้น อาจารย์ธัญญา ผลอนันต์ เป็นผู้นา ความคิดและวิธีการเขียนแผนที่ความคิด เข้ามาใช้ และเผยแพร่ในประเทศไทย ใน ปี 2541 งานพัฒนาคุณภาพฝ่ายการ พยาบาลฯ เรียนรู้จาก อาจารย์ลือรัตน์ อนุรัตน์พานิช 4
  • 5. Mind map การนาแนวคิด เทคนิค Mind map มาใช้จะเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งกับผู้ที่มีหน้าที่จัดการเรียนรู้ ตั้งแต่ การวางแผน การจัดกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนรู้ สาหรับผู้เรียนนั้น จะสามารถพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ ศาสตร์และศิลปะด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น เช่น สามารถช่วยคิด จา บันทึก การนาเสนอ ข้อมูล และช่วยแก้ปัญหา ได้อย่างเป็นรูปธรรม ทาให้การเรียนรู้เป็นเรื่อง ที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา ยิ่งขึ้น 5
  • 6. Mind map • Mind Map คือ เครื่องมือที่ช่วยในการจัดการระบบ ความคิดที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เรียบง่ายที่สุด มี รูปแบบการจดบันทึกที่สร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ • เป็นการถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ ในสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการ โยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็นบรรทัด ๆ • ใช้การสื่อความหมายด้วยข้อความและรูปภาพ คล้ายๆ การแตกกิ่งก้านของต้นไม้ • เสริมสร้างทักษะในการ วิเคราะห์ และการสังเคราะห์ ข้อมูล อันเป็นพื้นฐานในการ เรียนรู้จัดระเบียบความคิด จาได้ทนนาน 6
  • 7. การเขียน Mind Map 1. เตรียมอุปกรณ์การเขียน ได้แก่ - กระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัด : A4 - สีไม้ สีเมจิ สีเทียน สีชอล์ค ปากกาหลายๆสี 2. วิธีการเขียน - วางกระดาษแนวนอน เริ่มต้นจากกลาง หน้ากระดาษ เพราะจะช่วยให้มีอิสระในการคิดแผ่ ขยายได้ตามธรรมชาติ 7
  • 8. การเขียน Mind Map - เริ่มที่ศูนย์กลางซึ่งเรียกว่า “แก่นแกน” - แตกสู่ “กิ่งแก้ว” - ลงสู่ “กิ่งก้อย” - แตกไปเรื่อยๆ - ตันก็เปลี่ยนกิ่ง - ต่อเติมเมื่อจาเป็น * วาดกิ่งที่มีสัญลักษณ์ เป็นเส้นโค้ง * ใช้รูปภาพหรือ สัญลักษณ์ ประกอบ * ใช้สีสันให้ทั่วทั้งแผ่น * กิ่งก้อยที่แตกแขนงออกมากิ่งแก้วควรมีสี เดียวกันทั้งแขนง 8
  • 9. การเขียน Mind Map 3. รวบรวมความสัมพันธ์ของเนื้อหา จัดจาแนก และ วาดแยกตามความสัมพันธ์ 4. เขียนข้อความให้สั้นกระชับได้ใจความ 5. พยายามเว้นที่ว่างเพื่อให้สามารถขยายได้เมื่อมี การรวบรวมความคิดเพิ่มเติม 6. เพื่อให้สามารถจัดจาแนกกลุ่มความคิดได้ดีควร ใช้ปากกาหลายสี 7. อาจเลือกใช้การวาดภาพเพื่อให้สามารถเข้าใจ และจดจาได้ง่ายยิ่งขึ้น 9
  • 10. สิ่งที่ไม่ควรทา • ล้อมกรอบแกนแก่น • ที่ 3 , 6 , 9 , 12 นาฬิกา • ลักษณะของกิ่ง เอนไม่เกิน 60 องศา • กิ่งแตกออกมา จากศูนย์กลาง ไม่ควรเกิน 8 กิ่ง 10
  • 11. ประโยชน์ของ Mind Map • ทาให้เห็นภาพรวมกว้างๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือ ขอบเขตของเรื่อง • สามารถจาแนกกลุ่มความคิดได้อย่างชัดเจน ช่วย ให้ผู้ใช้งานสามารถจับประเด็น และเข้าใจได้ง่าย ยิ่งขึ้น • สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไว้ในกระดาษ แผ่นเดียวกัน • ทาให้สามารถวางแผนหรือตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เพราะรู้ว่าตรงไหนกาลังจะไปไหนหรือผ่านอะไรบ้าง • กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้ มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์ 11
  • 12. ประโยชน์ของ Mind Map • ใช้ระดมความคิดเห็น (Brain storming ) • ใช้ประกอบการเรียนการสอน (Teaching) • ใช้สรุปรายงานการประชุม (Meeting minutes) • ใช้วางแผนโครงการ (Project planning) • ใช้ในการอบรมและบรรยายที่ต่างๆ (Training) • ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ความรู้ แนวคิด (capture tacit knowledge) 12
  • 13. ข้อดีของ Mind Map • สร้างความเพลิดเพลินในการอ่าน และง่ายต่อการ จดจา • สนุก • ไม่เบื่อ • สวยงาม 13
  • 17. 17