ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
Atomic model
แบบจําลองอะตอม
Atomic physics
Pre-test
...เวลา 10 Ȩที...
คืออะไรกันนะ ?
ดิโมคริตุส (Democritus)
ดิโมคริตุส นักปราชญ์ชาวกรีก ได้เสนอ
แนวคิดเกี่ยวกับอะตอมไว้ว่า
- สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็ก
ที่สุด เรียกว่า อะตอม
- อะตอมเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด ไม่สามารถ
แบ่งแยกต่อไปได้อีก
- คําว่า “อะตอม” มาจากภาษากรีกว่า
atomos ซึ่งแปลว่าแบ่งแยกอีกไม่ได้
จอห์น ดอลตัน (John Dalton)
ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน
1. สสารประกอบด้วยอะตอมซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด แบ่งแยกต่อ
ไปอีกไม่ได้และไม่สามารถสร้างขึ้นหรือทําลายให้สูญหายไป
ได้โดยมีแรงซึ่งไม่ทราบแน่ชัดกระทําระหว่างอะตอมเพื่อยึด
อะตอมเข้าด้วยกัน
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีมวลและสมบัติเหมือนกันทุก
ประการ ส่วนอะตอมของธาตุต่างชนิดกันจะมีลักษณะต่างกัน
โดยอะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะมีรูปร่างและนํ้าหนักเฉพาะตัว
จอห์น ดอลตัน (John Dalton) (ต่อ)
ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน
3. อะตอมของธาตุหนึ่งจะเปลี่ยนไปเป็นอะตอมของธาตุอื่นไม่ได้
4. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2
ชนิดขึ้นไปในสัดส่วนที่คงตัว โดยอะตอมจะจัดเรียงตัวกันใหม่
เกิดเป็นสารประกอบชนิดใหม่ขึ้นมา
แบบจำลองอะตอม
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (Sir Joseph John Thomson)
ทอมสัน นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับหลอดรังสี
แคโทด ซึ่งเป็นหลอดแก้วสุญญากาศ (บรรจุแก๊สความดันตํ่า) ที่
ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าแคโทดและแอโนด เมื่อให้ความต่างศักย์สูงกับขั้ว
ไฟฟ้าทั้งสองจะเกิดรังสีพุ่งออกจากขั้วแคโทด เรียกว่า รังสีแคโทด
(Cathode ray)
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน (Sir Joseph John Thomson)
เมื่อรังสีแคโทดไม่เกิดการเบี่ยงเบน
แสดงว่าแรงไฟฟ้ามีค่าเท่ากับแรงแม่เหล็ก
แรงไฟฟ้า = แรงแม่เหล็ก
เมื่อ q คือ ประจุของอนุภาคภายในรังสีแคโทด หน่วย C
v คือ ความเร็วของอนุภาคภายในรังสีแคโทด หน่วย m/s
E คือ สนามไฟฟ้า หน่วย N/C หรือ V/m
B คือ สนามแม่เหล็ก หน่วย T
V คือ ความต่างศักย์ระหว่างขั้วของสนามไฟฟ้า หน่วย V
d คือ ระยะห่างระหว่างขั้วของสนามไฟฟ้า หน่วย m
เมื่อพิจารณาแรงจากสนามแม่เหล็ก ที่ทําให้อนุภาคมวล m
เคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยรัศมี r
เมื่อแทนค่า ;
จะได้
สิ่งที่ทอมสันค้นพบ
- อัตราส่วนประจุต่อมวลเท่ากับ 1.76x1011
C/kg
- “อนุภาคลบในรังสีแคโทดต้องมีลักษณะเหมือนกัน และอะตอมทุก
ชนิดย่อมจะมีอนุภาคที่มีประจุลบเป็นองค์ประกอบเหมือนกัน”
เป็นการค้นพบอนุภาคที่มีประจุลบซึ่งเป็นองค์ประกอบของอะตอม
การศึกษาต่อมา...
- ในเวลาต่อมาอนุภาคลบ ถูกเรียกว่า “อิเล็กตรอน (Electron)”
- เนื่องจากอะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า แสดงว่าต้องมีประจุบวกใน
จํานวนที่เท่ากับอิเล็กตรอน
- ออยเกิน โกลด์ชไตน์(Eugen Goldstein) ได้ทดลองโดยใช้หลอด
รังสีแคโทดที่แตกต่างจากทอมสันเล็กน้อย และได้ค้นพบอนุภาคที่
มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน (Proton)
แบบจำลองอะตอม
การทดลองหยดนํ้ามันของมิลลิแกน
เพื่อหาค่าประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนโดยการวัดประจุบนหยดนํ้ามัน
เมื่อหยดนํ้ามันที่มีประจุลบบางส่วนลอยนิ่งอยู่กับที่
แสดงว่า แรงไฟฟ้า = แรงโน้มถ่วง
มิลลิแกนพบว่า ประจุบนหยดนํ้ามันมีค่าเป็นเลขจํานวนเต็ม
คูณด้วย 1.60x10-19
C จึงสรุปว่าเป็นประจุของหยดนํ้ามัน
เมื่อมีอิเล็กตรอน 1 ตัว นั่นคือ
อิเล็กตรอนมีค่าประจุไฟฟ้า = 1.60x10-19
C
ดังนั้น มวลของอิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับ 9.1x10-31
kg
เมื่อประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว มีค่า เท่ากับ 1.60x10-19
C และค่า
ประจุต่อมวล เท่ากับ 1.76x1011
C/kg
แบบจำลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม
ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด
(Lord Ernest Rutherford)
ศึกษาทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟา โดยยิงอนุภาคแอลฟาซึ่งมี
ประจุบวกไปที่แผ่นทองคําบาง ๆ และมีฉากเรืองแสงล้อมรอบแผ่นทองคํา
ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ด
- อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่จะวิ่งเป็นแนวเส้นตรงผ่านแผ่นทองคํา
ไปกระทบฉากเรืองแสงที่อยู่ด้านหลัง
- อนุภาคแอลฟาบางส่วนจะเกิดการกระเจิง
- อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยมากสะท้อนกลับมาบริเวณด้านหน้าของ
แผ่นทองคํา
- อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่ควรจะทะลุผ่านแผ่นทองคําหรือเบนจาก
แนวเดิมเพียงเล็กน้อย
- เนื่องจากอนุภาคแอลฟาจะเกิดแรงผลักกับโปรตอนและเกิด
แรงดึงดูดกับอิเล็กตรอนที่กระจายอยู่ทั่วไปในอะตอม ทําให้
แรงลัพธ์ที่กระทําต่ออนุภาคแอลฟามีค่าน้อย
สิ่งที่ควรจะเป็นตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน
รัทเทอร์ฟอร์ดคิดว่า
- อะตอมควรจะมีที่ว่างเป็นจํานวนมาก เนื่องจากอะตอมผ่านไปเป็น
เส้นตรง
- อนุภาคบางส่วนที่สะท้อนกลับ แสดงว่า ภายในอะตอมจะต้องมี
อนุภาคบางอย่างที่มีมวลมากพอที่จะทําให้อนุภาคแอลฟาสะท้อน
กลับได้ซึ่งน่าจะเป็นอนุภาคของโปรตอน
ต่อมารัทเทอร์ฟอร์ดค้นพบว่ามีอนุภาคอีก 1 ชนิดที่มีมวลมากพอ ๆ กับ
โปรตอนและอยู่รวมกับโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอม ต่อมา เจมส์
แชดวิก ได้ค้นพบอนุภาคดังกล่าว เรียกว่า นิวตรอน (Neutron)
กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้
เรื่อง แบบจําลองอะตอม
แบบจำลองอะตอม

More Related Content

What's hot (20)

PDF
โครงสร้างอะตอม Atoms
BELL N JOYE
PDF
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
PDF
แบบฝึกหัึϹคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
PDF
ธาตุและสารประกอบ
website22556
PDF
สารละลาย
Jariya Jaiyot
PDF
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
kkrunuch
PDF
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
PPTX
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
tiraphankhumduang2
PDF
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
PDF
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
ครูนิรุต ฉิมเพชร
PDF
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
PDF
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
PDF
โควา๶ลนต์
พัน พัน
DOCX
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
PDF
ชุึϸิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พัȨะโคเวเลนต์dz
พนภาค ผิวเกลี้ยง
PDF
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
Katewaree Yosyingyong
PDF
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
Jariya Jaiyot
PPT
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
Oui Nuchanart
PDF
แก๊สอุึϸคติ
Chanthawan Suwanhitathorn
โครงสร้างอะตอม Atoms
BELL N JOYE
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
แบบฝึกหัึϹคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
ธาตุและสารประกอบ
website22556
สารละลาย
Jariya Jaiyot
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
kkrunuch
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
Coverslide Bio
หน่วยที่ 2 ตารางธาตุ
tiraphankhumduang2
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
ครูนิรุต ฉิมเพชร
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
โควา๶ลนต์
พัน พัน
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
ชุึϸิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พัȨะโคเวเลนต์dz
พนภาค ผิวเกลี้ยง
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
Katewaree Yosyingyong
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
Jariya Jaiyot
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
Oui Nuchanart
แก๊สอุึϸคติ
Chanthawan Suwanhitathorn

More from Chanthawan Suwanhitathorn (20)

PDF
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
พลังงาȨายในระบบ
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ความร้อน
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ทฤษฎีจลน์ྺองแก๊สกับชีวิตประจำวัน
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ทฤษฎีจลน์ྺองแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
พลศาสตร์ของྺองไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ความหนาแȨȨละความึϸȨองของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
กฎของพาสคัล
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ความตึงผิวและความหȨด
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ทวิภาวะྺองคลื่Ȩละอนุภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
กลศาสตร์ควอนตัม
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
การสลายྺองธาตุกัมมันตรังสี
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ฟิสิกส์อȨภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
สัญลักษณ์นิว๶คลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
แรงนิว๶คลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ประโยชȨของกัมมัȨภาพรังสีและพลังงานȨวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
กัมมันตภาพรังสี
Chanthawan Suwanhitathorn
PDF
ปฏิกิริยานิว๶คลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
พลังงาȨายในระบบ
Chanthawan Suwanhitathorn
ความร้อน
Chanthawan Suwanhitathorn
ทฤษฎีจลน์ྺองแก๊สกับชีวิตประจำวัน
Chanthawan Suwanhitathorn
ทฤษฎีจลน์ྺองแก๊ส
Chanthawan Suwanhitathorn
พลศาสตร์ของྺองไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
ความหนาแȨȨละความึϸȨองของไหล
Chanthawan Suwanhitathorn
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
Chanthawan Suwanhitathorn
กฎของพาสคัล
Chanthawan Suwanhitathorn
ความตึงผิวและความหȨด
Chanthawan Suwanhitathorn
ทวิภาวะྺองคลื่Ȩละอนุภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
กลศาสตร์ควอนตัม
Chanthawan Suwanhitathorn
การสลายྺองธาตุกัมมันตรังสี
Chanthawan Suwanhitathorn
ฟิสิกส์อȨภาค
Chanthawan Suwanhitathorn
สัญลักษณ์นิว๶คลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
แรงนิว๶คลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
ประโยชȨของกัมมัȨภาพรังสีและพลังงานȨวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
กัมมันตภาพรังสี
Chanthawan Suwanhitathorn
ปฏิกิริยานิว๶คลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
Ad

แบบจำลองอะตอม