More Related Content
Featured (20)
PDF
Storytelling For The Web: Integrate Storytelling in your Design ProcessChiara AliottaPDF
How to Leverage AI to Boost Employee Wellness - Lydia Di Francesco - SocialHR...SocialHRCampPDF
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldartsPDF
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNowPDF
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contentlyPPTX
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert QianPDF
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHubPDF
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark BoydPDF
Getting into the tech field. what next Tessa MeroPDF
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Rayอาชีพนักพากย์
- 3. การทางาน
ลักษณะงาน
นักพากย์เสียง จะรับบทแสดงตัวละครด้วยการใช้เสียง การบันทึกเสียงต้นฉบับโดยผู้ที่ให้เสียงนั้น ต้องทาตน
เปรียบเสมือนเป็นนักแสดงอยู่ด้วย เพื่อให้เสียงออกมาอย่างสมจริงและออกมาตามคาแรกเตอร์ ประเภทการ
พากย์เสียงแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้
การพากย์เสียง (voice-over) เป็นรูปแบบการทาเสียงพากย์ ซึ่งเป็นการอัดเสียงต้นฉบับโดยนักพากย์อาชีพ นัก
พากย์มือสมัครเล่น และนักแสดงอาชีพ ที่มีการอัดเสียงต้นฉบับไว้โดยยังไม่มีการทับเสียงพากย์ใหม่ นักพากย์
ต้องทาตนเปรียบเสมือนเป็นนักแสดงอยู่ด้วยเช่นกัน มักจะใช้ในรายการสารคดี หรือบทบรรยายก่อนหน้า
ภาพยนตร์เริ่ม
การพากย์เสียงทับ (dubbing) หมายถึงการอัดเสียงทับใหม่ เป็นการอัดเสียงทับเสียงต้นฉบับเพื่อไปเป็นเสียง
พากย์ในภาษาอื่น ซึ่งนักพากย์หรือนักแสดงมาอ่านบทแล้วเข้าห้องอัดเสียงเพื่อบันทึกเสียง ส่วนมากจะเป็น
การ์ตูน/อานิเมะ ซีรีส์ที่ฉายทางโทรทัศน์ ภาพยนตร์ต่างประเทศ คาว่า dub ในความหมายปัจจุบันคือการ
พากย์ทั่วไป Dubbing ก็ยังมีแบ่งไปอีกว่าจะเป็น Fan dub ที่แฟนๆ พากย์ใส่กันเองกับ Dub
parody ชื่อพากย์นรกแบบไทยๆ ที่ชอบนามาพากย์ตลกๆ ขาๆ แทนเนื้อเรื่องจริงเป็นต้น
- 4. ขั้นตอนการทางาน
เริ่มโดยการอ่านบทพากย์หรือสคริปท์ ต้องฝึกอ่านสคริปท์ ควรฝึกอ่านออกเสียงโดยมีการเว้นวรรค
ตอนที่ถูกต้อง การออกเสียงสูงเสียงต่าตามเนื้อหา รวมถึงการตีความบทพากย์หรือสคริปท์
โดยเน้นเสียงขึ้นลงในจุดที่ควรให้ความสาคัญ
เตรียมร่างกายให้พร้อมและพักผ่อนเพียงพอ ไม่ง่วงนอน เทคนิคทางกาย ที่ควรฝึกทาบ่อยๆ
ได้แก่ ฝึกหายใจเข้าให้ท้องป่อง หายใจออกให้ท้องแฟ่บ, หายใจเข้าให้ลึกที่สุด กลั้นไว้ 5
วินาที จากนั้นออกเสียง "โอ" ยาวๆ จนลมหายใจหมด, หมั่นออกกาลังกาย พัฒนาปอด เตรียม
ใจให้พร้อม ควรจะไม่มีเรื่องที่รบกวนจิตใจ ควรปล่อยวางเรื่องที่กังวลใจอยู่ จะทาให้มีสมาธิ
แล้วผลงานจะออกมาดี
ตรวจสอบเครื่องมือให้พร้อมใช้งานในตอนที่ต้องพากย์เสียง เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด
เริ่มการพากย์ สามารถอัดได้หลายเทค เพื่อเลือกเสียงที่เหมาะสมกับตัวละครมากที่สุด พร้อมทั้ง
แก้ไขส่วนที่พากย์ผิด พากย์ไม่ครบตอน
จากนั้นนาไปเข้าโปรแกรมตัดต่อวิดีโอ สร้างสรรค์ผลงานต่อไป
- 6. ผู้ที่ต้องทางานด้วย
วิศวกรเสียง (อังกฤษ: sound engineer หรือ audio engineer) การควบคุมใน
กระบวนการบันทึกเสียง (sound recording), การเพิ่มคุณภาพเสียง (sound
reinforcement) มีหน้าที่ในการตัดต่อ ปรับแต่งเสียงโดยวิธีและเทคนิคต่างๆ เพื่อที่จะ
สามารถสื่อถึงความหมายหรือความต้องการที่นักพากย์เสียงต้องการสื่อออกมาให้ได้มากที่สุด
มักจะใช้ในงานพากย์ใหญ่ๆ
ทีมพากย์เสียง ในบางงานต้องมีนักพากย์หลายคน อัดพร้อมกัน เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวให้ต่อเนื่อง
ทีมตัดต่อ
นักเขียนหรือนักแปล ที่เป็นผู้เรียบเรียงและเขียนให้บทให้แก่นักพากย์ถ่ายทอด จึงต้องสื่อสาร
อารมณ์ความรู้สึกกันให้เข้าใจ เพื่อให้นักพายก์ถ่ายทอดเสียงออกมาได้ตามโจทย์ที่ต้องการ
- 9. ข้อดีของอาชีพ
เป็นงานที่สนุก เพราะเราได้ทาหลายอย่างทั้งการพากย์หนัง พากย์การตูน โดยเราจะต้องพากย์ตาม
เสียงของตัวละครเหมือนเป็นนักแสดง โดยในหนึ่งเรื่อง เราได้พากย์หลายตัวละครก็ได้เช่นกัน
ไม่ซ้าซากจาเจ มีเรื่องมีตอนใหม่ ๆ ให้เราพากย์เสมอ
รายได้ดี หากชานาญ และมีประสบการณ์เยอะ
เป็นงานที่มีความอิสระสูง สามารถรับงานนอกได้หากไม่กระทบกับงานพากย์ประจาที่ตนเองสังกัด
ไม่มีเกษียณอายุในการทางาน สามารถทางานได้ตลอดจนกว่าจะทาไม่ไหว
- 12. ทักษะที่ควรมี
ทักษะด้านการอ่านและการตีความ ในการพากย์เสียงต้องมีการอ่านบทพากย์และตีความ ซึ่งต้อง
อ่านออกเสียงได้ชัดเจน คล่องแคล่ว ตรงตามไวยากรณ์ มีการเว้นวรรคตอนถูกต้องและเป็น
ธรรมชาติ นักพากย์เสียงได้หลายอารมณ์ต้องหาวิธีสร้างเสียงให้เข้ากับอารมณ์และ
สถานการณ์นั้นๆ ซึ่งต้องใช้การฝึกซ้อม และตีความจากบท หรือการบรีฟของผู้เขียน
ทักษะด้านการแสดง ในที่นี้จะไม่ได้หมายถึงการแสดงออกทางกาย แต่แสดงออกทางน้าเสียงตาม
อารมณ์ของตัวละคร เช่น อารมณ์โมโห กังวล สนุกสนาน หรือการเน้นเสียงหนักเบาเพื่อให้
เนื้อหาที่เป็นตัวอักษรมาทาให้มีชีวิตมีความน่าสนใจมากขึ้น
ทักษะด้านภาษา นักพากย์เสียงต้องมีทักษะทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อให้เข้าใจ
อารมณ์ของตัวละครได้มากขึ้น สามารถทางานพากย์ได้หลากหลายมากขึ้น
ทักษะเฉพาะทางการเล่นเสียงเล่นคา ทักษะด้านนี้จะได้มาจากการฝึกฝนและประสบการณ์ เช่น
เทคนิคการเล่นคา การแทรกมุกตลก หรือการใช้ดัดเสียงเพื่อให้สามารถพากย์เป็นหลายตัว
ละครได้ในเรื่องเดียว จะช่วยให้งานพากย์น่าสนใจมากขึ้น
- 13. ทักษะที่ควรมี
ทักษะการฟัง การพูดและการออกเสียง หากเป็นกรณีในการพากย์เสียงทับเสียงภาษาอื่น ต้องทาความเข้าใจ
ในน้าเสียง และอารมณ์ของตัวละคร และพูด ออกเสียงอย่างชัดเจนและเข้าใจ
ทักษะการฟัง การพูดและการออกเสียง หากเป็นกรณีในการพากย์เสียงทับเสียงภาษาอื่น ต้องทาความเข้าใจ
ในน้าเสียง และอารมณ์ของตัวละคร และพูด ออกเสียงอย่างชัดเจนและเข้าใจ
ทักษะการร้องเพลง อาจไม่จาเป็นที่สุด แต่ถือเป็นทักษะที่จะช่วยขยายวงกว้างในการทางานมากขึ้น เช่น
สามารถพากย์เสียงการ์ตูนแพลงหรือภาพยนตร์เพลง (Musical Film)
ทักษะภาษาอังกฤษ ถือว่าจาเป็นอย่างมาก เพราะปัจจุบันหากเป็นนักพากย์ที่สามารถพูดได้ทั้งไทยและ
อังกฤษอย่างชัดเจน และมีสาเนียงที่ถูกต้อง จะช่วยเพิ่มรายได้มากขึ้น
- 15. คาแนะนาสาหรับพัฒนาตนเอง
Hard Skills
ต้องรู้จักธรรมชาติของเสียงตัวเองก่อน ว่าเป็นคนเสียงแบบไหน เสียงหนา เสียงบางควรจะพากย์
เป็นตัวอะไรได้บ้าง
ฝึกออกเสียง เพื่อออกเสียงให้ชัดถ้อยชัดคา อักขระถูกต้อง ไม่ว่าจะฝึกฝนด้วยตัวเอง หรือฝึกโดย
สถาบัน หรือมีครูผู้สอน
ฝึกการทาหลายๆ อย่างไปพร้อมๆ กัน เช่น การอ่าน การออกเสียง การใส่อารมณ์ในบทที่กาลังให้
เสียง เพราะการพากย์จะต้องทาทุกอย่างทั้งหมดภายในเวลาเดียวกัน ซึ่งแน่นอนว่าไม่ใช่เรื่อง
ง่าย
การหัดทาเสียงที่หลากหลาย อย่างหนังเรื่องหนึ่ง นักพากย์แต่ละคนต้องทาหน้าที่พากย์เสียงตัว
ละครหลายตัว ซึ่งอาจจะมีหลายบุคลิกลักษณะ
การหัดพากย์เสียงในอารมณ์ และในสถานการณ์ต่างๆ กัน ต้องพยายามทาให้ได้ และต้องหาวิธี
สร้างเสียงให้เข้ากับอารมณ์และสถานการณ์นั้นๆ
- 16. คาแนะนาสาหรับพัฒนาตนเอง
การบังคับ ควบคุมการเปล่งเสียง พลังของเสียงจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อเรามีการบังคับ และความคุมการเปล่ง
เสียงได้ดีพอ ซึ่งอาจจะใช้หลักและเทคนิคของการร้องเพลง การแสดงละครเวที ที่ใช้เสียงเป็นหลักนามา
ประยุกต์ใช้ เมื่อเวลาผ่านไปพอควบคุมเสียงได้แล้ว จะรู้สึกเองว่าเสียงที่ส่งออกไปสื่ออารมณ์ได้ตรงตาม
ต้นฉบับจริงๆ
Soft Skills
ฝึกการทางานร่วมกับผู้อื่น เพราะเป็นงานที่ต้องทาเป็นทีม
จัดการเวลาให้ดี เพราะเป็นงานที่กดดันทั้งเรื่อง
กิจกรรมต่าง ๆ
เข้าร่วมโครงการฝึกอบรม หรือการประกวดนักพากย์รุ่นจิ๋ว นักพากย์เยาวชนต่าง ๆ ทั้งจากภาครัฐหรือ
เอกชน
- 17. เรื่องเล่าในรั้วมหาวิทยาลัย
แม้ว่านักพากย์เสียง จะไม่จาเป็นต้องเรียนตรงสาย แต่ตัวอย่างคณะที่ใกล้เคียง และช่วยพัฒนา
ส่งเสริมศักยภาพการเป็นนักพากย์ได้ดี คือ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาสื่อสารการแสดง (ตัวอย่าง
หลักสูตรจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) เพราะการพากย์ก็คือการแสดง แต่เป็นการแสดงด้วย
เสียงแทนนักแสดงในเรื่อง ฉะนั้นการเรียนสาขานี้จะทาให้เข้าถึงบทบาทตัวละครได้ง่ายยิ่งขึ้น
รู้จักการใช้เสียงสื่ออารมณ์ความรู้สึกได้
เคล็ดลับการเรียน
ต้องฝึกตัวเองบ่อยๆ พยายามเปิดโอกาสให้ตัวเองได้ไปเรียนรู้ข้างนอก เช่น เข้าร่วมกิจกรรมของ
ทางมหาวิทยาลัย หรือการรับงานอิสระ อย่างนักพากย์ เล่านิทาน งานพิธิกรเพื่อลองว่าเราถนัด
แบบไหน แล้วเขามีเทคนิคยังไงบ้าง จะทาให้เราเรียนรู้ได้เร็ว เป็นไวกว่าเรียนในห้องเพียง
อย่างเดียว
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
ปี 1 ถึง ปี 2 จะเรียนรวมกันก่อนทั้งคณะ ก็จะเรียนพวกวิชาพื้นฐานวิชาทางนิเทศศาสตร์เหมือนกัน
เช่น พื้นฐานการประชาสัมพันธ์และโฆษณา การสื่อสารมวนชนและนิเทศศาสตร์เบื้องต้น การ
สื่อข่าว การเขียนข่าว หลักและการปฏิบัติทางวาทนิเทศ ภาษาเพื่อการสื่อสาร (รอบด้านทั้ง ฟัง
พูด อ่าน เขียน)
- 18. เรื่องเล่าในรั้วมหาวิทยาลัย
ชั้นปีที่ 3 จะได้เรียนทฤษฎีสื่อสารการแสดง การบริหารจัดการการแสดง วรรณกรรมการแสดง การเขียนบท
การวิจารณ์การแสดง และการฝึกงานอาชีพทางสื่อสารการแสดง
ชั้นปี 4 จะได้เรียนการจัดการด้านโปรดักชัน การทาละครขึ้นมาจริงๆ เขียนบทเอง ทาทุกอย่างเอง เป็นโปร
เจ็กต์จบตอนสุดท้ายปลายภาคเรียน
ค่าเทอมตลอดหลักสูตร
-กยศ
ทุนจิตอาสาพัฒนาคณะศิลปกรรมศาสตร์ (มีหลายทุนขึ้นอยู่กับคุณสมบัติที่ทางคณะกาหนดไว้)