ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
 เรื่อง ความงามของภาษา การสรรคา และการเรียบเรียงถ้อยคา
 ความงามของภาษา
 ภาษามีความงามได้เพราะประกอบด้วยถ้อยคา การสรร
  ถ้อยคาที่มีเสียไพเราะมีความหมายดีเด่น ให้ภาพชัดเจน
  และเรียบเรียงถูกตามหลักเกณฑ์และความนิยมของภาษา
  โดยอาศัยศิลปะการประพันธ์เข้าช่วย
ถ้อยคา
 ถ้อยคาในภาษาไทยที่จะสรรมาใช้เพื่อให้เกิดความงามในภาษาได้
  มีดังนี้

 ๑. คาประสม ที่สะท้อนจินตนาการของผู้คิดคา คาประสม
  ประเภทนี้ให้
 ภาพได้ชัดเจน เช่น น้าตก มีดพับ สมเสร็จ หงอนไก่
 ๒. คาสมาส เป็นคาที่กะทัดรัด สื่อความหมายได้ดี และ
 ออกเสียงได้
 ไพเราะ เช่น พุทธโอวาท อุบัติเหตุ
 ๓. คาซ้อนสี่คา มีเสียงสัมผัสไพเราะ เช่น ลายลักษณ์
  อักษร
   เก็บหอมรอมริบ แคล่วคล่องว่องไว น้าพักน้าแรง
 ๔. คามูลสี่พยางค์ เช่น กระปรี้กระเปร่า กระฉับกระเฉง
     กระจุยกระจาย ระหองระเเหง ตุปัดตุป่อง
   ๕. คาไวพจน์ คือคาที่ความหมายเหมือนกัน เช่น
 คาไวพจน์ของดวงอาทิตย์ ได้แก่ รวิ รวี รพี ราไพ ไถง อังศุ
  มาลิน สุริยะ สุริยา สุริโย สุริยัน ทิพากร ทิวากรตะวัน ตา
  วัน เป็นต้น
เสียง
 เสียงในภาษาไทยที่ก่อให้เกิดความงามของภาษามี ๓ ประเภท คือ
 ๑.เสียงสัมผัส
      ๑.๑ เสียงสัมผัสสระ คือมีเสียงเหมือนกัน ถ้าเป็นพยางค์
     ปิดต้องมีเสียงพยัญชนะท้ายเหมือนกันด้วย เช่น ดูน้าวิ่ง
     กลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกลอก
     ๑.๒ เสียงสัมผัสอักษร (หรือสัมผัสพยัญชนะ) คือ มีเสียง
     พยัญชนะต้นเหมือนกัน
   เช่น อย่าหยิ่งเย่อยกย่อง       ลาพองพิษ
๒.เสียงวรรณยุกต์ ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ คาประพันธ์ ไทยมี
        ๕ ประเภท ในจานวนนีมี ๓ ประเภทบังคับการใช้วรรณยุกต์ คือ
                                ้
   -โคลง บังคับคาเอก คาโท
   -ร่ายบังคับคาที่ส่งสัมผัสท้ายวรรคกับคาที่รับสัมผัสต้องใช้คาที่มีรูป
    วรรณยุกต์เดียวกัน
   -กลอน บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรคทุกวรรค
   การบังคับเช่นนี้เพื่อให้มีเสียงไพเราะก่อให้เกิดความงามของภาษา
๓. เสียงหนักเบาและจังหวะอันเกิดจากการอ่าน
 ๓.๑ การอ่านร้อยแก้ว ผู้อ่านเน้นเสียงหนักเบาให้เหมาะสม
  กับเนื้อความ ที่อ่าน มีการทอดเสียง เว้นวรรคเหมาะสม
  จะก่อให้เกิดความงามขึ้น
 ๓.๒ การอ่านร้อยกรอง ร้อยกรองประเภทฉันท์จะมีการ
  กาหนดเสียง                หนักเบาได้แน่นอน เมื่ออ่านเป็น
  ทานองเสนาะจะก่อให้เกิดเสียงทีj เป็นจังหวะและลานาอัน
  ไพเราะงดงาม
 ๑.ความหมายในบริบท
 เช่น เกาะ มีความหมายหลายอย่าง
     ตัวอย่าง นกเกาะกิ่งไม้ ฉันไปเที่ยวเกาะภูเก็ต
 ๒.ความหมายในสาร
       หากผู้อ่านมีประสบการณ์และจินตนาการใกล้เคียงกับผูแต่ง
                                                        ้
      ก็จะเข้าใจสารเป็นอย่างดี
 ๓.ความหมายในกวีโวหาร
       การอ่านต้องตีความก่อนจึงจะเข้าใจ
 ๑.เลือกคาที่มีความหมายเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
  เช่น เรื่องที่เป็นนิทาน นิราศ อาศิรวาท ย่อมต้องใช้คาต่างๆกันไปให้
  เหมาะสม
 ๒.การเลือกคาโดยเพ่งเล็งเสียงของคา ใช้ศิลปะการประพันธ์ดังนี้
       สัทพจน์ หรือการใช้เลียนเสียงธรรมชาติและเสียงต่างๆ
       การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน
       การซ้าคา การใช้คาให้เกิดเสียงไพเราะ และได้น้านักของความหมาย
การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน

    การซ้าคา การใช้คาให้เกิด
    เสียงไพเราะ และได้น้านักของ

 ความหมาย เช่น
 เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง
 นกบินเฉียงไปทั้งหมู่
 การซ้าเล่นคา คือการซ้า
 และเล่นคากันด้วย เช่น
รอȨอนสุริยะโอ้   อัสดง
     เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง        ค้าแล้ว
     รอนรอนจิตจานง                นุชพี่ เพียงแม่
    เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว      คลับคล้ายเรียมเหลียว
 “รอนรอน”ในบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ กับ “เรื่อยเรื่อย” ใน
  บาทที่ ๒ และบาทที่ ๔ ซ้าคาเล่นคา
 อัพภาส คือคาซ้านิดหนึ่ง เช่น วะวับ ระรื่น การใช้อัพภาสจะทาให้
  เสียงไพเราะเช่น
        ยะแย้มยิ้มพิมพ์ใจให้วาบหวาม           วะวาววับตางาม
  ทรามสงวน
 การเล่นเสียงสัมผัส มีทั้งเล่นเสียงสัมผัสสระและเสียงสัมผัสอักษร
  (หรือสัมผัสพยัญชนะ) ในวรรคเดียวกัน หรือในตาแหน่งที่ไม่ใช่
  สัมผัสบังคับ
 การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การไล่เสียงวรรณยุกต์
    ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ
      ธรณีนี่นี้               เป็นพยาน
 เมืองชื่อกาญจนบุรี            ว่างว้าง
 จะจับจองจ่องจ้องสิ่งใดนั้น        ดูสาคัญคั่นคั้นอย่างันฉงน
 ๑.คนที่พูดจา….จะไม่ใช้วาจาที่ระคายเคืองหูผู้อื่น
 ควรใช้คาซ้อนในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น
 ก.อ่อนน้อม            ข.อ่อนโยน
 ค.อ่อนหวาน            ง.อ่อนช้อย
 ๒.ข้อใดเรียงคาให้ได้ดุลของเสียงและความหมาย
  ก่อให้เกิดความงามในภาษา
 ก.เข้าป่าอย่าเสียเหมือง เข้าเมืองอย่าเสียขุน
 ข.สิบทิศทั่วลือละเวง หวั่นเดชท่านนา
 ค.สองฝ่ายหาญใช่ช้า คือสีห์สู้สีหกล้า ์
  ง.พระพรายชายพัดมาเชยชื่น หอมระรื่นรอบในไพร
  ระหง
 ๓.”ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ
 หึ่งหึ่งให้ลมหวน        พี่ให้”
 คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด
 ก.สัทพจน์ ข.เล่นคา          ค.อัพภาส ง.เล่นคาซ้าคา

 ๔.การใช้คาอัพภาสให้ความไพเราะทางด้านใด
 ก.ความหมาย             ข.ความคล้องจอง
 ค.จังหวะหนักเบา        ง.ความสะเทือนอารมณ์
   ๕.ภาพที่ปรากฏในจินตนาการหรือในความรูสึก
                                         ้
    ของบุคคลตามที่บุคคลนั้นๆเคยมีประสบการณ์
    เรียกว่าอะไร
               ก.จินตภาพ       ข.มโนภาพ

             ค.ภาพพจน์       ง.ภาพลักษณ์
๖.ข้อใดเป็นอติพจน์
  ก.เฉลิมพระชนมพรรษาสิงหามาส   ข้าพระบาทบังคมก้มเกศี
  ข.แม่เป็นมิงขวัญแผ่นดินทอง
             ่                 แม่เป็นแสงโสมส่องแผ่นดิน
  ธรรม
  ค.ขอเดชะปวงข้าประชาราษฏร์    กราบพระบาทถวายพรภิญโญป
  ถัมภ์
  ง.ขอพระชนม์ยืนนานจารใจจา     คู่ถิ่นธรรมถินทองของไทย
                                            ่
  เทอญ
๗.เสียงสัมผัสในสานวนข้อใดที่ต่างกับขออื่น
       ก.บัวไม่ให้ช้า              น้าไม่ให้ขุ่น
       ข.มะพร้าวตื่นดก ยาจกตื่นมี
       ค.ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดดยาก
                                 ั
       ง.เรือร่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่
 ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”
 ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุลของเสียงและ
  ความหมาย
 ก.เมื่อไร ข.ฉันใด                 ค.เท่าไร      ง.เพียงใด
 ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”
 ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุล
  ของเสียงและความหมาย
 ก.เมื่อไร                 ข.ฉันใด
 ค.เท่าไร                  ง.เพียงใด
    คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด
      ก.สัทพจน์      ข.เล่นคา        ค.อัพภาส       ง.เล่นคาซ้าคา


 ๑๐.”กิรดังได้สดับมา ยังมีกระทาชายนายหนึ่ง
 เ ดินทางร่อนเร่….”
 ก.นิทาน            ข.ตานาน       ค.เรื่องสั้น      ง.นวนิยาย
 ข้อ ๑.ค   ข้อ๒.ก   ข้อ๓.ก
 ข้อ๔.ค    ข้อ๕.ก   ข้อ๖.ง
 ข้อ๗.ก    ข้อ๘.ค   ข้อ๙.ค
 ข้อ๑๐.ก

More Related Content

งาȨำเสนอคำไวพจน์

  • 1.  เรื่อง ความงามของภาษา การสรรคา และการเรียบเรียงถ้อยคา
  • 2.  ความงามของภาษา  ภาษามีความงามได้เพราะประกอบด้วยถ้อยคา การสรร ถ้อยคาที่มีเสียไพเราะมีความหมายดีเด่น ให้ภาพชัดเจน และเรียบเรียงถูกตามหลักเกณฑ์และความนิยมของภาษา โดยอาศัยศิลปะการประพันธ์เข้าช่วย
  • 3. ถ้อยคา  ถ้อยคาในภาษาไทยที่จะสรรมาใช้เพื่อให้เกิดความงามในภาษาได้ มีดังนี้  ๑. คาประสม ที่สะท้อนจินตนาการของผู้คิดคา คาประสม ประเภทนี้ให้  ภาพได้ชัดเจน เช่น น้าตก มีดพับ สมเสร็จ หงอนไก่
  • 4.  ๒. คาสมาส เป็นคาที่กะทัดรัด สื่อความหมายได้ดี และ ออกเสียงได้  ไพเราะ เช่น พุทธโอวาท อุบัติเหตุ  ๓. คาซ้อนสี่คา มีเสียงสัมผัสไพเราะ เช่น ลายลักษณ์ อักษร เก็บหอมรอมริบ แคล่วคล่องว่องไว น้าพักน้าแรง
  • 5.  ๔. คามูลสี่พยางค์ เช่น กระปรี้กระเปร่า กระฉับกระเฉง กระจุยกระจาย ระหองระเเหง ตุปัดตุป่อง
  • 6. ๕. คาไวพจน์ คือคาที่ความหมายเหมือนกัน เช่น  คาไวพจน์ของดวงอาทิตย์ ได้แก่ รวิ รวี รพี ราไพ ไถง อังศุ มาลิน สุริยะ สุริยา สุริโย สุริยัน ทิพากร ทิวากรตะวัน ตา วัน เป็นต้น
  • 7. เสียง  เสียงในภาษาไทยที่ก่อให้เกิดความงามของภาษามี ๓ ประเภท คือ  ๑.เสียงสัมผัส ๑.๑ เสียงสัมผัสสระ คือมีเสียงเหมือนกัน ถ้าเป็นพยางค์ ปิดต้องมีเสียงพยัญชนะท้ายเหมือนกันด้วย เช่น ดูน้าวิ่ง กลิ้งเชี่ยวเป็นเกลียวกลอก ๑.๒ เสียงสัมผัสอักษร (หรือสัมผัสพยัญชนะ) คือ มีเสียง พยัญชนะต้นเหมือนกัน เช่น อย่าหยิ่งเย่อยกย่อง ลาพองพิษ
  • 8. ๒.เสียงวรรณยุกต์ ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ คาประพันธ์ ไทยมี ๕ ประเภท ในจานวนนีมี ๓ ประเภทบังคับการใช้วรรณยุกต์ คือ ้  -โคลง บังคับคาเอก คาโท  -ร่ายบังคับคาที่ส่งสัมผัสท้ายวรรคกับคาที่รับสัมผัสต้องใช้คาที่มีรูป  วรรณยุกต์เดียวกัน  -กลอน บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรคทุกวรรค  การบังคับเช่นนี้เพื่อให้มีเสียงไพเราะก่อให้เกิดความงามของภาษา
  • 9. ๓. เสียงหนักเบาและจังหวะอันเกิดจากการอ่าน  ๓.๑ การอ่านร้อยแก้ว ผู้อ่านเน้นเสียงหนักเบาให้เหมาะสม กับเนื้อความ ที่อ่าน มีการทอดเสียง เว้นวรรคเหมาะสม จะก่อให้เกิดความงามขึ้น  ๓.๒ การอ่านร้อยกรอง ร้อยกรองประเภทฉันท์จะมีการ กาหนดเสียง หนักเบาได้แน่นอน เมื่ออ่านเป็น ทานองเสนาะจะก่อให้เกิดเสียงทีj เป็นจังหวะและลานาอัน ไพเราะงดงาม
  • 10.  ๑.ความหมายในบริบท  เช่น เกาะ มีความหมายหลายอย่าง ตัวอย่าง นกเกาะกิ่งไม้ ฉันไปเที่ยวเกาะภูเก็ต  ๒.ความหมายในสาร  หากผู้อ่านมีประสบการณ์และจินตนาการใกล้เคียงกับผูแต่ง ้ ก็จะเข้าใจสารเป็นอย่างดี  ๓.ความหมายในกวีโวหาร  การอ่านต้องตีความก่อนจึงจะเข้าใจ
  • 11.  ๑.เลือกคาที่มีความหมายเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง เช่น เรื่องที่เป็นนิทาน นิราศ อาศิรวาท ย่อมต้องใช้คาต่างๆกันไปให้ เหมาะสม  ๒.การเลือกคาโดยเพ่งเล็งเสียงของคา ใช้ศิลปะการประพันธ์ดังนี้  สัทพจน์ หรือการใช้เลียนเสียงธรรมชาติและเสียงต่างๆ  การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน  การซ้าคา การใช้คาให้เกิดเสียงไพเราะ และได้น้านักของความหมาย
  • 12. การเล่นคา คือการใช้คาพ้องเสียงหรือคาที่มีเสียงเหมือนกัน  การซ้าคา การใช้คาให้เกิด เสียงไพเราะ และได้น้านักของ ความหมาย เช่น  เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู่  การซ้าเล่นคา คือการซ้า และเล่นคากันด้วย เช่น
  • 13. รอȨอนสุริยะโอ้ อัสดง  เรื่อยเรื่อยลับเมรุลง ค้าแล้ว  รอนรอนจิตจานง นุชพี่ เพียงแม่  เรื่อยเรื่อยเรียมคอยแก้ว คลับคล้ายเรียมเหลียว  “รอนรอน”ในบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓ กับ “เรื่อยเรื่อย” ใน บาทที่ ๒ และบาทที่ ๔ ซ้าคาเล่นคา
  • 14.  อัพภาส คือคาซ้านิดหนึ่ง เช่น วะวับ ระรื่น การใช้อัพภาสจะทาให้ เสียงไพเราะเช่น ยะแย้มยิ้มพิมพ์ใจให้วาบหวาม วะวาววับตางาม ทรามสงวน  การเล่นเสียงสัมผัส มีทั้งเล่นเสียงสัมผัสสระและเสียงสัมผัสอักษร (หรือสัมผัสพยัญชนะ) ในวรรคเดียวกัน หรือในตาแหน่งที่ไม่ใช่ สัมผัสบังคับ
  • 15.  การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การไล่เสียงวรรณยุกต์ ก่อให้เกิดเสียงดนตรีที่ไพเราะ  ธรณีนี่นี้ เป็นพยาน  เมืองชื่อกาญจนบุรี ว่างว้าง  จะจับจองจ่องจ้องสิ่งใดนั้น ดูสาคัญคั่นคั้นอย่างันฉงน
  • 17.  ๒.ข้อใดเรียงคาให้ได้ดุลของเสียงและความหมาย ก่อให้เกิดความงามในภาษา  ก.เข้าป่าอย่าเสียเหมือง เข้าเมืองอย่าเสียขุน  ข.สิบทิศทั่วลือละเวง หวั่นเดชท่านนา  ค.สองฝ่ายหาญใช่ช้า คือสีห์สู้สีหกล้า ์ ง.พระพรายชายพัดมาเชยชื่น หอมระรื่นรอบในไพร ระหง
  • 18.  ๓.”ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ  หึ่งหึ่งให้ลมหวน พี่ให้”  คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด  ก.สัทพจน์ ข.เล่นคา ค.อัพภาส ง.เล่นคาซ้าคา  ๔.การใช้คาอัพภาสให้ความไพเราะทางด้านใด  ก.ความหมาย ข.ความคล้องจอง  ค.จังหวะหนักเบา ง.ความสะเทือนอารมณ์
  • 19. ๕.ภาพที่ปรากฏในจินตนาการหรือในความรูสึก ้ ของบุคคลตามที่บุคคลนั้นๆเคยมีประสบการณ์ เรียกว่าอะไร ก.จินตภาพ ข.มโนภาพ ค.ภาพพจน์ ง.ภาพลักษณ์
  • 20. ๖.ข้อใดเป็นอติพจน์ ก.เฉลิมพระชนมพรรษาสิงหามาส ข้าพระบาทบังคมก้มเกศี ข.แม่เป็นมิงขวัญแผ่นดินทอง ่ แม่เป็นแสงโสมส่องแผ่นดิน ธรรม ค.ขอเดชะปวงข้าประชาราษฏร์ กราบพระบาทถวายพรภิญโญป ถัมภ์ ง.ขอพระชนม์ยืนนานจารใจจา คู่ถิ่นธรรมถินทองของไทย ่ เทอญ
  • 21. ๗.เสียงสัมผัสในสานวนข้อใดที่ต่างกับขออื่น  ก.บัวไม่ให้ช้า น้าไม่ให้ขุ่น  ข.มะพร้าวตื่นดก ยาจกตื่นมี  ค.ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดดยาก ั  ง.เรือร่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่  ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”  ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุลของเสียงและ ความหมาย  ก.เมื่อไร ข.ฉันใด ค.เท่าไร ง.เพียงใด
  • 22.  ๘.” งานนี้ยิ่งทาเสร็จเร็ว … ก็ยิ่งดีเท่านั้น”  ควรใช้คาในข้อใดเติมลงในช่องว่างข้างต้น จึงได้ดุล ของเสียงและความหมาย  ก.เมื่อไร ข.ฉันใด  ค.เท่าไร ง.เพียงใด
  • 23. คาประพันธ์ข้างต้นนี้ใช้ศิลปะการปะพันธ์ตรงกับข้อใด  ก.สัทพจน์ ข.เล่นคา ค.อัพภาส ง.เล่นคาซ้าคา   ๑๐.”กิรดังได้สดับมา ยังมีกระทาชายนายหนึ่ง  เ ดินทางร่อนเร่….”  ก.นิทาน ข.ตานาน ค.เรื่องสั้น ง.นวนิยาย
  • 24.  ข้อ ๑.ค ข้อ๒.ก ข้อ๓.ก  ข้อ๔.ค ข้อ๕.ก ข้อ๖.ง  ข้อ๗.ก ข้อ๘.ค ข้อ๙.ค  ข้อ๑๐.ก