ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
เสนอ
ครูสุวรรณี ภู่ชัย
จัดทาโดย
นายพอ พูลเขตกิจ เลขที่ ๙
นายวิษณุ คาอุ่น เลขที่ ๑๐
นายสรศักดิ์ ศิริไพศาล เลขที่ ๑๑
นายสิทธิโชค วิทยา เลขที่ ๑๒
นักเรียนชั้นมัธยมปีที่ ๕/๑
โรงเรียนหนองไผ่
เขตพื้นที่การศึกษาเขต 40
ผู้แต่งตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.๕ ทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ รวบรวมขึ้นเนื่องจากเห็นว่าแพทย์
แผนโบราณและตารายาพื้นบ้านเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมที่
มีค่า และทีสืบทอดกันมานั้น มีผิดบ้าง สูญหายบ้าง จึง
รวบรวมไว้ ให้ คนรุ่นหลังได้ ศึกษา โดยเขียนลงสมุดไทย
ด้วยอักษรไทย เส้นหรดาล ต่อมาปรากฏฉบับสมบูรณ์ เมื่อ
พระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) อาจารย์
ผู้เชี่ยวชาญของราชแพทยาลัยได้ เริ่มจัดพิมพ์เพื่ออนุรักษ์
ตาราแพทย์ไทยไว้ให้คนรุ่นหลัง
พวกเราได้รับหน้าที่ให้
ถอดคาประพันธ์
ดังต่อไปนี้
บ้างถือว่าตนเฒ่า เปนหมอเก่าชานาญดี
รู้ยาไม่รู้ที รักษาได้ก็ชื่นบาน
แก่กายไม่แก่รู้ ประมาทผู้อุดมญาณ
แม้เด็กเปนเด็กชาญ ไม่ควรหมิ่นประมาทใจ
บทความ
ถอดความ
หมอบางคนยึดมั่นว่าตัวเองอายุมาก เป็นหมอมานานมีความเชี่ยวชาญรู้
เรื่องยา ไม่รู้ความสามารถของผู้อื่น รักษาโรคได้ก็มีความสุข
ร่างกายแก่ ไม่เรียนรู้ให้มากดูหมิ่นผู้มีความรู้มากแม้เด็กแต่เป็นเด็กมีความ
ชานาญ ใจไม่ควรคิดดูหมิ่น
เรียนรู้ให้เจนจัด จบจังหวัดคัมภีร์ไสย์
ตั้งต้อนปฐมใน ฉันทศาสตร์ดังพรรณนา
ปฐมจินดาโชตรัต ครรภ์รักษาอไภยสันตา
(ต้นฉบับขาด) สิทธิสารนนท์ปักษี
อติสารอะวะสาน มรณะญาณตามคัมภีร์
สรรคุณรศอันมี ธาตุบรรจบโรคนิทาน
บทความ
ถอดความ
เรียนรู้ให้ชานาญ จบขอบเขตเนื้อหาตาราเวทมนตร์คาถาเริ่มตั้งต้นในฉันทศาสตร์
ตามที่บอกให้ทราบไว้ ตาราปฐมจินดาร์โชตรัต ตาราครรภ์รักษา ตาราอภัยสันตา
ตาราสิทธิสารนนท์ปักษี…….. ไข้หนักระยะใกล้ตาย สิ่งที่บอกให้รู้ว่าใกล้ตายตาม
ตาราสรรพคุณ มีสิ่งที่บอกให้รู้ได้อีกในตาราธาตุบรรจบ ตาราโรคนิทาน
ฤดูแลเดือนวัน ยังนอกนั้นหลายสถาน
ลักษณะธาตุพิการ เกิดกาเริบแลหย่อนไป
ทั้งนี้เป็นต้นแรก ยกยักแยกขยายไข
กล่าวย่อแต่ชื่อไว้ ให้ราพึงเรียนตาหรับจา
ฤดูและเดือนวัน ยังมีสาเหตุอีกหลายอย่างลักษณะของส่วนควบคุมร่างผิดปกติ
ระยะเริ่มต้น ระยะเป็นมากขึ้น และระยะทุเลา เบาลง
ตามที่กล่าวไว้เริ่มแรก ได้นาไปแยก อธิบายบอกให้รู้กล่าวย่อแต่ชื่อเอาไว้ ต้องการ
ให้เรียนรู้จดจา
ไม่รู้คัมภีร์เวช ห่อนเห็นเหตุซึ่งโรคทา
แพทย์เอ๋ยอย่างมคลา จักขุมืด บ เห็นหน
แพทย์ใดจะหนีทุกข์ ไปสู่ศุขนิพพานดล
พิริยสติตน ประพฤติได้จึ่งเปนการ
ไม่รู้ตาราแพทย์ จะไม่ทราบผลที่โรคทาให้เกิดขึ้นแพทย์เอ๋ย อย่าชักช้าใน
การค้นหา เหมือนคนตาบอดมองไม่เห็นทาง
หมอคนใดจะหนีความทุกข์ ไปหาความสุขถึงดับกิเลสและกองทุกข์มีความ
หมั่นระลึกตนได้ ปฏิบัติตนได้อย่างนี้จึงเป็นสิ่งควรทา
คาศัพท์
พิริย หมายถึง ความเพียร
อติสาร หมายถึง อาการของโรคชนิดหนึ่ง เป็นไข้หนักมากถึงระยะใกล้ตาย
จักขุ หมายถึง สายตา
โชตรัต หมายถึง มหาโชตรัต เป็นชื่อคัมภีร์แพทย์ในชุดแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
ว่าด้วยโรคของสตรี และสมุนไพรที่ใช้รักษา
ธาตุ หมายถึง ธาตุทั้ง ๔ อันมีอยู่ในร่างกาย ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุลม และธาตุไฟ
ธาตุบัญจบ หมายถึง คัมภีร์ธาตุบรรจบ เป็นชื่อคัมภีร์แพทย์ว่าด้วยเรื่องอุจจาระที่เป็น
สาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา
มรณญาณ หมายถึง สัญญาณบอกว่าใกล้ตาย
โรคนิทาน หมายถึง ชื่อคัมภีร์แพทย์ในชุดแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ว่าด้วยสาเหตุของโรค
และสมุนไพรที่ใช้รักษา
ขอบคุณครับ !

More Related Content

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท