ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
2
Most read
3
Most read
โดย นางสาวเดือนฉาย  แสวงสิน ชั้น ม .4 / 1  เลขที่  16 เสนอ คุณครู  อภิญญา  สุขพงษ์ อาณาจักรฟูนัน
อาณาจักรฟูนัน ปรากฏชื่อในบันทึกของนักเดินเรือและ พระชาวจีนที่เดินทางเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกล่าวถึง อาณาจักรฟูนัน ว่าเป็นอาณาจักรในดินแดนแถบนี้   คำว่า ฟูนัน  หมายถึง พนม ที่แปลว่า  ภูเขา อาณาจักรฟูนัน คังไถ ทูตจีนที่มา ฟูนันได้กล่าวว่าเมื่อโกฑัญญะกษัตริย์จาก ต่างแดนเข้ามารบชนะและ ได้แต่งงานกับพระนางหลิวเย้ นางพญาของชน ชาวพื้นเมือง   โกฑัญญะปกครองเป็น พระราชาองค์แรกของอาณาจักรฟูนันมีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย   อิทธิพลทางวัฒนธรรมของอาณาจักร ฟูนันได้แพร ่กระจายไปอย่างกว้างขวางในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จดหมายเหตุจีนสมัยต่างๆ ที่บันทึกเรื่องราวของฟูนันระยะแรก มีดังนี้
ศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนัน  ปัจจุบันนักวิชาการยังหาข้อยุติไม่ได้ว่าศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนันอยู่บริเวณใด มีข้อสันนิษฐานดังนี้ คืออยู่ทางใต้ของเขมรในปัจจุบัน บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงที่ออกแก้วหรือบาพนม หรืออยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ที่เมืองอู่ทอง   ( สุพรรณบุรี ) หรือนครปฐมโบราณ จึงเป็นไปได้ว่าศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนันมีการเคลื่อนย้ายมิได้ตั้งอยู่บริเวณใดบริเวณหนึ่งเมืองท่าที่สำคัญคือ เมืองออกแก้ว อยู่ในประเทศเวียดนามปัจจุบัน
 ฟูนันมีเมืองขึ้นหลายเมือง อยู่กระจัดกระจายแถบปากแม่น้ำโขง จามปา รวมทั้งดินแดนเจนละแถบแม่น้ำมูล ดินแดนทางลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและที่สำคัญมากชื่อ ตุนสุน ซึ่งนักโบราณคดีตีความว่าอาณาจักรตุนสุนน่าจะเป็นทวารวดีในสมัยต่อมาในช่วงเวลาที่ฟูนันเริ่มแตกสลายเพราะว่าช่วงเวลาติดต่อกันพอดีแต่ไม่มีหลักฐานยืนยัน ดินแดนที่ฟูนันได้ไว้ในอำนาจมักจะอยู่แถบไซ่ง่อนและด้านเหนือขี้นไป จนถึงอาณาจักรจามปา ซึ่งบางคราวก็ตกอยู่ใต้อำนาจของฟูนันด้วย
ความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนและอินเดีย  ฟูนันเป็นอาณาจักรใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่  7 - 8  สิ้นสุดลงราวพุทธศตวรรษที่  10  มีเมืองหลวงชื่อ วยาธปุระ ชึ่งตั้งอยู่ใกล้เนินบาพนม และหมู่บ้านบานามในจังหวัดแวง ของประเทศเขมร และได้มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับทั้งจีนและอินเดีย โดยส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรี หลายครั้งจดหมายเหตุจีนสมัยสามก๊ก กล่าวว่าใน พ . ศ . 786  อาณาจักรฟูนันได้ส่งคณะทูตมายังจีนพร้อมด้วย นักดนตรีและนำพืชผลในอาณาจักรมาเป็นเครื่องบรรณาการ กำหนดส่ง   3  ปีต่อครั้ง อาณาจักรฟูนันเป็นผู้ริเริ่ม ส่งบรรณาการไปจีน
อาณาเขตของอาณาจักรฟูนัน  อาณาเขต อาณาจักรฟูนันมีความเจริญสูงสุดประมาณ พ . ศ .  800 -900  โดยมีอิทธิพลเหนืออาณาจักรต่างๆในลุ่มน้ำเจ้าพระยา และอาณาจักรทางใต้ไปจนถึงปลายแหลมมลายู นอกจากนี้อาณาจักรฟูนันยังมีอำนาจไปถึงดินแดนบริเวณลุ่มน้ำโขงตอนใต้ของเวียดนามหลักฐานส่วนใหญ่ทีใช้ศึกษาประวัติศาสตร์อาณาจักรฟูนัน ใช้หลักฐานจากบันทึกของจีน
โดยคำว่า  “ ฟูนัน ”  เป็นคำในภาษาจีนปัจจุบันที่มาจากภาษาจีนโบราณว่า  “ บุยหนำ ”  ซึ่งใช้เรียกรัฐที่ตั้งขึ้นก่อนอาณาจักรกัมพูชาซึ่งมีที่ตั้งอยู่ตามลำน้ำโขงตั้งแต่เมืองโชดก   ( เขตแดนกัมพูชา  –  เวียดนาม )  จนถึงเมืองพนมเปญ ( กัมพูชา )  คำว่า บุยหนำ จีนใช้เรียกตามชื่อตำแหน่งประมุขรัฐ
สภาพสังคมและวิถีชีวิตของชาวอาณาจักรฟูนัน   อาณาจักรฟูนันมีความเจริญทางอารยธรรม มากที่สุดผู้ปกครองของฟูนันมีรายได้มาจากการค้าทางเรือ สินค้าของฟูนันคือสินค้าพื้นเมือง ชาวฟูนันมีฝีมือทางแกะสลักไม้   ทำเครื่องทองรูปพรรณได้สวยงามมาก เศรษฐกิจ ของฟูนันขึ้นอยู่กับการค้าและการเกษตร
ลักษณะการประกอบอาชีพของชาวอาณาจักรฟูนัน  ชาวเมืองมีอาชีพกสิกรรม รู้จักการชลประทานขุดคลองเพื่อทดน้ำไว้ใช้ในการเพาะปลูก รู้จักทำเครื่องปั้นดินเผา การแกะสลัก ทำเครื่องประดับแลเครื่องใช้ต่างๆ รู้จักการต่อเรือ ราษฎรต้องเสียภาษีให้รัฐเป็นทองคำ ไข่มุกและเครื่องหอม พืชที่ปลูกคือ ข้าว ฝ้ายและอ้อย กีฬาที่สำคัญ คือ ชนไก่และชนหมู
ลักษณะการเมืองการปกครองของอาณาจักรฟูนัน   ได้รับอิทธิพลจากอินเดียตามคติ เทวราชา ถือว่ากษัตริย์เป็นเทพเจ้า มีลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีสถานภาพเป็นสมมติเทพ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองบัญชาการทางทหาร และการพิพากษาคดีเลียนแบบกฎหมายมนูธรรมศาสตร์ของชาวอินเดียมาใช้เป็นแบบอย่างกฎหมายของตน  แต่เพื่อความสงบสุขของอาณาจักรได้ส่งคณะทูตและบรรณาการไปยังประเทศจีนทำให้ไม่ถูกจีนรุกรานและจีนไม่ได้ส่งข้าหลวงจีนมาปกครองคงปล่อยให้กษัตริย์ปกครองบ้านเมืองอย่างเป็นอิสระ การตัดสินคดีความ ใช้วิธีถือเหล็กเผาไฟจนสุกแดงแล้วเดินไป  7  ก้าว ถ้ามือไม่ไหม้พองก็ถือว่าบริสุทธิ์ ผู้ถูกกล่าวหาต้องถือศีลก่อน 3 วันแล้วจึงจะเอามาพิสูจน์ในฟูนันไม่มีคุกตาราง ใช้วิธีตัดสินเลย
ความเจริญด้านวัฒนธรรมศาสนาและภาษาของอาณาจักรฟูนัน  ชาวฟูนันนับถือศาสนาหลายนิกายมีทั้งพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายานศาสนาพราหมณ์ไศวะนิกาย มีการบูชาพระมเหศวร  ( พระศิวะ )  และไวษณพนิกายบูชาพระนารายณ์ ( พระวิษณุ )  ชนชั้นปกครองของฟูนันนับถือศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูนิกายไศวะที่บูชาพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด พวกชนพื้นเมืองนับถือนิกายไวษณพที่บูชาพระนารายณ์เป็นเทพเจ้าสูงสุด และนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน และยังมีการนับถือบูชาเทพเจ้าอีกหลายองค์เช่นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้าเทพเจ้าแห่งฝน พ . ศ .  1078-1088 ราชสำนักจีนได้ส่งราชทูตมายังอาณาจักรฟูนันเพื่อขอให้รวบรวมคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาและส่งภิกษุที่เป็นครูให้เดินทางไปเผยแผ่ศาสนาในประเทศจีน
ความเสื่อมของอาณาจักรฟูนัน  ความเสื่อมของอาณาจักรฟูนัน เกิดจากพวกเขมรที่อยู่ใต้อำนาจของอาณาจักรฟูนันได้มีกำลังเข้มแข็งขึ้นทำให้อาณาจักรฟูนันเสื่อมลง กษัตริย์เขมรชื่อ  ภววรมัน ยกทัพมาตีจนอาณาจักรฟูนันต้องได้รับความพ่ายแพ้แพ้เมืองขึ้นของอาณาจักรฟูนันได้ตั้งตนเป็นอิสรและตั้งแต่นั้นมาฟูนันก็ถูกเขมรกลืนชาติจนหมดอย่างไรก็ตามเขมรก็ได้รับเอาอารยธรรมต่างๆมาจากอาณาจักรฟูนัน

More Related Content

What's hot (20)

PPTX
อารยธรรม๶มโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
PPTX
อารยธรรมอิȨึϸย
Toey Songwatcharachai
PDF
อารยธรรมจีน
พัน พัน
PPTX
ศาสนาชินโต
Padvee Academy
PPTX
ศาสนาเชน
Padvee Academy
PDF
2.2 อารยธรรมอิȨึϸย
Jitjaree Lertwilaiwittaya
PPTX
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __
PPTX
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
PPTX
อารยธรรมอิȨึϸย
Gain Gpk
PDF
วัȨำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
PDF
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสิȨุ(อิȨึϸย)
พัน พัน
PDF
ความหมายและประ๶ภทของศาสȨ
นายวินิตย์ ศรีทวี
PDF
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
PDF
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
PPTX
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
PDF
อารยธรรมจีนP
kruchangjy
PPTX
อารยธรรม๶มโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
PDF
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
DOC
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์
PPTX
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn
อารยธรรม๶มโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
อารยธรรมอิȨึϸย
Toey Songwatcharachai
อารยธรรมจีน
พัน พัน
ศาสนาชินโต
Padvee Academy
ศาสนาเชน
Padvee Academy
2.2 อารยธรรมอิȨึϸย
Jitjaree Lertwilaiwittaya
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
อารยธรรมอิȨึϸย
Gain Gpk
วัȨำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสิȨุ(อิȨึϸย)
พัน พัน
ความหมายและประ๶ภทของศาสȨ
นายวินิตย์ ศรีทวี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
อารยธรรมกรีก
พัน พัน
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
อารยธรรมจีนP
kruchangjy
อารยธรรม๶มโสโปเตเมีย
Kran Sirikran
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn

Viewers also liked (12)

PDF
05อาณาจักรโบราณใȨระ๶ทศไทย
JulPcc CR
PDF
อาณาจักรทวารวดี - อาณาจักรศรีวิชัย +566+dltvp4+54his p04 f17-1page
Prachoom Rangkasikorn
PDF
อาณาจักรศรีวิชัย
Nattha Namm
DOC
อาณาจักรสมัยโบราณ
yeanpean
PDF
062+hisp4+dltv54+540914+a+ใบความรู้ อาณาจักรศรีวิชัย (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
PDF
อาณาจักรศรีวิชัย+566+54his p04 f19-1page
Prachoom Rangkasikorn
PDF
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
Weena Wongwaiwit
PDF
ทวีปทั้ง7
Karn JantaJak
PPT
ภูมิศาสตร์ทวีป๶อเชีย.
Mod Haha
PDF
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
chakaew4524
PDF
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
05อาณาจักรโบราณใȨระ๶ทศไทย
JulPcc CR
อาณาจักรทวารวดี - อาณาจักรศรีวิชัย +566+dltvp4+54his p04 f17-1page
Prachoom Rangkasikorn
อาณาจักรศรีวิชัย
Nattha Namm
อาณาจักรสมัยโบราณ
yeanpean
062+hisp4+dltv54+540914+a+ใบความรู้ อาณาจักรศรีวิชัย (1 หน้า)
Prachoom Rangkasikorn
อาณาจักรศรีวิชัย+566+54his p04 f19-1page
Prachoom Rangkasikorn
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
Weena Wongwaiwit
ทวีปทั้ง7
Karn JantaJak
ภูมิศาสตร์ทวีป๶อเชีย.
Mod Haha
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
chakaew4524
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
Ad

อาณาจักรฟูนัน โดยเดือนฉาย แสวงสิน

  • 1. โดย นางสาวเดือนฉาย แสวงสิน ชั้น ม .4 / 1 เลขที่ 16 เสนอ คุณครู อภิญญา สุขพงษ์ อาณาจักรฟูนัน
  • 2. อาณาจักรฟูนัน ปรากฏชื่อในบันทึกของนักเดินเรือและ พระชาวจีนที่เดินทางเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกล่าวถึง อาณาจักรฟูนัน ว่าเป็นอาณาจักรในดินแดนแถบนี้ คำว่า ฟูนัน หมายถึง พนม ที่แปลว่า ภูเขา อาณาจักรฟูนัน คังไถ ทูตจีนที่มา ฟูนันได้กล่าวว่าเมื่อโกฑัญญะกษัตริย์จาก ต่างแดนเข้ามารบชนะและ ได้แต่งงานกับพระนางหลิวเย้ นางพญาของชน ชาวพื้นเมือง โกฑัญญะปกครองเป็น พระราชาองค์แรกของอาณาจักรฟูนันมีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย อิทธิพลทางวัฒนธรรมของอาณาจักร ฟูนันได้แพร ่กระจายไปอย่างกว้างขวางในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จดหมายเหตุจีนสมัยต่างๆ ที่บันทึกเรื่องราวของฟูนันระยะแรก มีดังนี้
  • 3.
  • 4. ศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนัน ปัจจุบันนักวิชาการยังหาข้อยุติไม่ได้ว่าศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนันอยู่บริเวณใด มีข้อสันนิษฐานดังนี้ คืออยู่ทางใต้ของเขมรในปัจจุบัน บริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงที่ออกแก้วหรือบาพนม หรืออยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ที่เมืองอู่ทอง ( สุพรรณบุรี ) หรือนครปฐมโบราณ จึงเป็นไปได้ว่าศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนันมีการเคลื่อนย้ายมิได้ตั้งอยู่บริเวณใดบริเวณหนึ่งเมืองท่าที่สำคัญคือ เมืองออกแก้ว อยู่ในประเทศเวียดนามปัจจุบัน
  • 5. ฟูนันมีเมืองขึ้นหลายเมือง อยู่กระจัดกระจายแถบปากแม่น้ำโขง จามปา รวมทั้งดินแดนเจนละแถบแม่น้ำมูล ดินแดนทางลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและที่สำคัญมากชื่อ ตุนสุน ซึ่งนักโบราณคดีตีความว่าอาณาจักรตุนสุนน่าจะเป็นทวารวดีในสมัยต่อมาในช่วงเวลาที่ฟูนันเริ่มแตกสลายเพราะว่าช่วงเวลาติดต่อกันพอดีแต่ไม่มีหลักฐานยืนยัน ดินแดนที่ฟูนันได้ไว้ในอำนาจมักจะอยู่แถบไซ่ง่อนและด้านเหนือขี้นไป จนถึงอาณาจักรจามปา ซึ่งบางคราวก็ตกอยู่ใต้อำนาจของฟูนันด้วย
  • 6. ความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนและอินเดีย ฟูนันเป็นอาณาจักรใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 7 - 8 สิ้นสุดลงราวพุทธศตวรรษที่ 10 มีเมืองหลวงชื่อ วยาธปุระ ชึ่งตั้งอยู่ใกล้เนินบาพนม และหมู่บ้านบานามในจังหวัดแวง ของประเทศเขมร และได้มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับทั้งจีนและอินเดีย โดยส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรี หลายครั้งจดหมายเหตุจีนสมัยสามก๊ก กล่าวว่าใน พ . ศ . 786 อาณาจักรฟูนันได้ส่งคณะทูตมายังจีนพร้อมด้วย นักดนตรีและนำพืชผลในอาณาจักรมาเป็นเครื่องบรรณาการ กำหนดส่ง 3 ปีต่อครั้ง อาณาจักรฟูนันเป็นผู้ริเริ่ม ส่งบรรณาการไปจีน
  • 7. อาณาเขตของอาณาจักรฟูนัน อาณาเขต อาณาจักรฟูนันมีความเจริญสูงสุดประมาณ พ . ศ . 800 -900 โดยมีอิทธิพลเหนืออาณาจักรต่างๆในลุ่มน้ำเจ้าพระยา และอาณาจักรทางใต้ไปจนถึงปลายแหลมมลายู นอกจากนี้อาณาจักรฟูนันยังมีอำนาจไปถึงดินแดนบริเวณลุ่มน้ำโขงตอนใต้ของเวียดนามหลักฐานส่วนใหญ่ทีใช้ศึกษาประวัติศาสตร์อาณาจักรฟูนัน ใช้หลักฐานจากบันทึกของจีน
  • 8. โดยคำว่า “ ฟูนัน ” เป็นคำในภาษาจีนปัจจุบันที่มาจากภาษาจีนโบราณว่า “ บุยหนำ ” ซึ่งใช้เรียกรัฐที่ตั้งขึ้นก่อนอาณาจักรกัมพูชาซึ่งมีที่ตั้งอยู่ตามลำน้ำโขงตั้งแต่เมืองโชดก ( เขตแดนกัมพูชา – เวียดนาม ) จนถึงเมืองพนมเปญ ( กัมพูชา ) คำว่า บุยหนำ จีนใช้เรียกตามชื่อตำแหน่งประมุขรัฐ
  • 9. สภาพสังคมและวิถีชีวิตของชาวอาณาจักรฟูนัน อาณาจักรฟูนันมีความเจริญทางอารยธรรม มากที่สุดผู้ปกครองของฟูนันมีรายได้มาจากการค้าทางเรือ สินค้าของฟูนันคือสินค้าพื้นเมือง ชาวฟูนันมีฝีมือทางแกะสลักไม้ ทำเครื่องทองรูปพรรณได้สวยงามมาก เศรษฐกิจ ของฟูนันขึ้นอยู่กับการค้าและการเกษตร
  • 10. ลักษณะการประกอบอาชีพของชาวอาณาจักรฟูนัน ชาวเมืองมีอาชีพกสิกรรม รู้จักการชลประทานขุดคลองเพื่อทดน้ำไว้ใช้ในการเพาะปลูก รู้จักทำเครื่องปั้นดินเผา การแกะสลัก ทำเครื่องประดับแลเครื่องใช้ต่างๆ รู้จักการต่อเรือ ราษฎรต้องเสียภาษีให้รัฐเป็นทองคำ ไข่มุกและเครื่องหอม พืชที่ปลูกคือ ข้าว ฝ้ายและอ้อย กีฬาที่สำคัญ คือ ชนไก่และชนหมู
  • 11.
  • 12. ลักษณะการเมืองการปกครองของอาณาจักรฟูนัน ได้รับอิทธิพลจากอินเดียตามคติ เทวราชา ถือว่ากษัตริย์เป็นเทพเจ้า มีลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีสถานภาพเป็นสมมติเทพ มีอำนาจสูงสุดในการปกครองบัญชาการทางทหาร และการพิพากษาคดีเลียนแบบกฎหมายมนูธรรมศาสตร์ของชาวอินเดียมาใช้เป็นแบบอย่างกฎหมายของตน แต่เพื่อความสงบสุขของอาณาจักรได้ส่งคณะทูตและบรรณาการไปยังประเทศจีนทำให้ไม่ถูกจีนรุกรานและจีนไม่ได้ส่งข้าหลวงจีนมาปกครองคงปล่อยให้กษัตริย์ปกครองบ้านเมืองอย่างเป็นอิสระ การตัดสินคดีความ ใช้วิธีถือเหล็กเผาไฟจนสุกแดงแล้วเดินไป 7 ก้าว ถ้ามือไม่ไหม้พองก็ถือว่าบริสุทธิ์ ผู้ถูกกล่าวหาต้องถือศีลก่อน 3 วันแล้วจึงจะเอามาพิสูจน์ในฟูนันไม่มีคุกตาราง ใช้วิธีตัดสินเลย
  • 13. ความเจริญด้านวัฒนธรรมศาสนาและภาษาของอาณาจักรฟูนัน ชาวฟูนันนับถือศาสนาหลายนิกายมีทั้งพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายานศาสนาพราหมณ์ไศวะนิกาย มีการบูชาพระมเหศวร ( พระศิวะ ) และไวษณพนิกายบูชาพระนารายณ์ ( พระวิษณุ ) ชนชั้นปกครองของฟูนันนับถือศาสนาพราหมณ์ - ฮินดูนิกายไศวะที่บูชาพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด พวกชนพื้นเมืองนับถือนิกายไวษณพที่บูชาพระนารายณ์เป็นเทพเจ้าสูงสุด และนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน และยังมีการนับถือบูชาเทพเจ้าอีกหลายองค์เช่นเทพเจ้าแห่งท้องฟ้าเทพเจ้าแห่งฝน พ . ศ . 1078-1088 ราชสำนักจีนได้ส่งราชทูตมายังอาณาจักรฟูนันเพื่อขอให้รวบรวมคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาและส่งภิกษุที่เป็นครูให้เดินทางไปเผยแผ่ศาสนาในประเทศจีน
  • 14.
  • 15. ความเสื่อมของอาณาจักรฟูนัน ความเสื่อมของอาณาจักรฟูนัน เกิดจากพวกเขมรที่อยู่ใต้อำนาจของอาณาจักรฟูนันได้มีกำลังเข้มแข็งขึ้นทำให้อาณาจักรฟูนันเสื่อมลง กษัตริย์เขมรชื่อ ภววรมัน ยกทัพมาตีจนอาณาจักรฟูนันต้องได้รับความพ่ายแพ้แพ้เมืองขึ้นของอาณาจักรฟูนันได้ตั้งตนเป็นอิสรและตั้งแต่นั้นมาฟูนันก็ถูกเขมรกลืนชาติจนหมดอย่างไรก็ตามเขมรก็ได้รับเอาอารยธรรมต่างๆมาจากอาณาจักรฟูนัน