ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ตัวแปร
เขียนโปรแกรม
ตัวแปรจะเป็นชื่อที่ใช ้ในการบอกจานวนหรือปริมาณ ซึ่งสามารถที่จะทาการ
เปลี่ยนแปลงจานวนได ้ด ้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตั้งชื่อตัวแปร จะต ้องตั้ง
ชื่อให ้แตกต่างไปจากชื่อของตัวแปรอื่นๆ ยกตัวอย่างชื่อของตัวแปร ได ้แก่ x,
y, peter, num_of_points และ streetnum เป็นต ้น โดยปกติการเขียน
โปรแกรมที่ดี ควรจะตั้งชื่อตัวแปรให ้สอดคล ้องกับการทางานหรือหน้าที่ของ
ตัวแปรนั้นๆ เพราะเมื่อถึงเวลาต ้องมาทาการปรับปรุงแก ้ไขโปรแกรม จะ
สามารถทาได ้โดยไม่ยากนัก
ในภาษา C หรือ C++ ได ้มีกฏในการตั้งชื่อตัวแปรที่สามารถใช ้งานได ้ดังนี้
- ชื่อตัวแปรจะต ้องขึ้นต ้นด ้วยตัวอักษร
- ชื่อตัวแปรจะประกอบไปด ้วย ตัวอักษร ตัวแลข และ _ ได ้เท่านั้น
- ชื่อตัวแปรจะต ้องไม่ใช่ชื่อ reserved word (ชื่อที่มีการจองไว ้แล ้ว)
ตัวอย่างของชื่อตัวแปรที่สามารถนามาใช ้ตั้งชื่อได ้ได ้แก่
length, days_in_year, DataSet1, Profit95, Pressure, first_one
และตัวอย่างของชื่อ ที่ไม่สามารถนามาใช ้เป็นชื่อตัวแปรได ้ยกตัวอย่างเช่น
day-in-year, 1data, int, first.val เป็นต ้น
Reserved words หรือตัวแปรที่ได ้จองไว ้แล ้วนั้น จะประกอบไปด ้วย
ตัวอักษรตัวเล็กทั้งหมด และจะมีความสาคัญสาหรับภาษา C++ และ
จะไม่นามาใช ้ด ้วยวัตถุประสงค์อื่นๆ ตัวอย่างของ Reserved words
ได ้แก่ and, bool, break, case, catch, char, class, continue,
default, delete, do, double, if , else, enum, export, extern เป็น
ต ้น
การกาหนดชนิดของตัวแปร (Declaration of Variables)
ในภาษา C หรือ C++ (และโปรแกรมในภาษาอื่นๆ) ตัวแปรทุกตัวที่จะมีการเรียกใช ้ในโปรแกรมจาเป็นต ้องมีการ
กาหนดชนิดของตัวแปรนั้นๆ ก่อนที่จะทาการเรียกใช ้ตัวแปร
การกาหนดชนิดของตัวแปรมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการได ้แก่
- เป็นการบอกชนิด และตั้งชื่อตัวแปรที่จะเรียกใช ้ชนิดของตัวแปรจะทาให ้คอมไพเลอร์สามารถแปลคาสั่งได ้อย่าง
ถูกต ้อง (ยกตัวอย่างเช่น ใน CPU คาสั่งที่ใช ้ในการบวกตัวเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ย่อมแตกต่างจากคาสั่งที่จะบวก
จานวนจริง 2 จานวนเข ้าด ้วยกัน)
- ชนิดของตัวแปร ยังเป็นบ่งบอกคอมไพเลอร์ให ้ทราบว่าจะต ้องจัดเตรียมเนื้อที่ให ้กับตัวแปรตัวนั้นมากน้อยเท่าใด
และจะจัดวางตัวแปรนั้นไว ้แอดเดรส (Address) ไหนที่สามารถเรียกมาใช ้ใน code ได ้
สาหรับในบทความนี้จะพิจารณาชนิดตัวแปร 4 ชนิดที่ใช ้กันมากได ้แก่ int, float, bool และ char
int ชนิดตัวแปรที่สามารถแทนค่าจานวนเต็มได ้ทั้งบวกและลบ โดยปกติสาหรับคอมพิวเตอร์
ทั่วไป คอมไพเลอร์ จะจองเนื้อที่ 2 ไบต์ สาหรับตัวแปรชนิด int จึงทาให ้ค่าของตัวแปรมีค่า
ตั้งแต่ -32768 ถึง +32768 ตัวอย่างของค่า int ได ้แก่ 123 -56 0 5645 เป็นต ้น
floatชนิดของตัวแปรที่เป็นตัวแทนของจานวนจริง หรือตัวเลขที่มีค่าทศนิยม ความละเอียดของ
ตัวเลขหลังจุดทศนิยมขึ้นอยู่กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยปกติแล ้ว ตัวแปรชนิด float จะใช ้เนื้อที่
4 ไบต์ นั่นคือจะให ้ความละเอียดของตัวเลขหลังจุดทศนิยม 6 ตาแหน่ง และมีค่าอยู่ระหว่าง -
1038 ถึง +1038 ตัวอย่างของค่า float ได ้แก่ 16.315 -0.67 31.567
bool ชนิดของตัวแปรที่สามารถเก็บค่าลอจิก จริง (True) หรือ เท็จ (False) ตัวแปรชนิดนี้ เป็น
ที่รู้จักกันอีกชื่อคือ ตัวแปรบูลีน (Boolean) ตัวอย่างของตัวแปรชนิด bool ได ้แก่ 1 0 true false
(เมื่อ 1 = true และ 0 = false)
char เป็นชนิดตัวแปรที่เป็นตัวแทนของ ตัวอักษรเพียงตัวเดียว อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือ
ตัวอักขระพิเศษ โดยปกติตัวแปรชนิดนี้จะใช ้เนื้อที่เพียง 1 ไบต์ ซึ่งจะให ้ตัวอักษรในรูปแบบที่
แตกต่างกันได ้ถึง 256 ค่า การเขียนรูปแบบของ char หลายๆ ตัว โดยปกติ จะอ ้างอิงกับ
American Standard Code for Information Interchange (ASCII) ตัวอย่างของตัวแปรชนิด
char ได ้แก่ '+' 'A' 'a' '*' '7'
int i, j, count;
float sum, product;
char ch;
bool passed_exam;
การให้กาหนดค่าตัวแปร (Variable Assignment)
เราสามารถกาหนดค่าให ้กับตัวแปรได ้ด ้วยเครื่องหมาย = ยกตัวอย่าง
เช่น
int name; // กาหนดตัวแปร name ที่เก็บค่าจานวนเต็ม
name = 23; // กาหนดให ้ตัวแปร name มีค่าเป็น 23
ในขณะเดียวกัน เราสามารถใช ้เครื่องหมาย = ระหว่างตัวแปรกับตัวแปร
หรือตัวแปรกับจานวนใดๆ ได ้อาทิเช่น
change = x1 - x2;
mean = (x1 + x2)/2;
x = x + 1;
การคานวณในภาษา C
name ชื่อของตัวแปร
n ขนาดของข ้อความ หรือจานวนอักขระในข ้อความ
str ข ้อความเริ่มต ้นที่จะกาหนดให ้กับตัวแปรซึ่งต ้อง
เขียนไว ้ภายในเครื่องหมาย " "
ตัวแปรสาหรับข้อความ
ในภาษา C ไม่มีการกาหนดชนิดของตัวแปรสาหรับข ้อความโดยตรง แต่จะ
ใช ้การกาหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการกาหนดขนาดแทน และ
จะเรียกตัวแปรสาหรับเก ้บข ้อความว่า ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศ
ตัวแปรสตริงแสดงได ้ดังนี้
char name[n] = "str";
การใส่ค่าให้ตัวแปร
เราสามารถใส่ค่าให ้ตัวแปรได ้โดยการเขียนชื่อ
ตัวแปร ตามด ้วยเครื่องหมายเท่ากับ แล ้ว ตาม
ด ้วยค่าที่จะใส่ให ้ตัวแปรนั้นๆ
ชื่อตัวแปร = ค่าที่จะใส่ให ้;
i = 5;
ชื่อตัวแปรตัวที่n = ... = ชื่อตัวแปรตัวที่2 = ชื่อตัวแปรตัวที่1 = ค่าที่จะใส่ให ้;
c = b = a = ' ';
จัดทำโดย
นำย พงศ์ปกร สุขเลิศพงศ์ เลขที่20 ปวช.1/4
นำย สำยฟ้ำ ไวยวุฒิ เลขที่ 30 ปวช..1/4
เสนอ
อำจำรย์ ญำณิศำ ไหลพึ่งทอง
วิชำพื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม

More Related Content

What's hot (19)

PDF
๶ครื่องหมายและการึϸ๶ȨȨารในภาษาซี
เทวัญ ภูพานทอง
PDF
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
PPTX
ภาษาซึี
Theethawach Wannabundit
DOC
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Nookky Anapat
PDF
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
ใบความรู้ที่ 5
SubLt Masu
PDF
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Komkai Pawuttanon
PDF
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทาง๶ลือก
Supicha Ploy
PPTX
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทาง๶ลือก.
Mink Kamolwan
PDF
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทาง๶ลือก
Naphamas
PDF
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษา)
Visaitus Palasak
PPTX
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ปณพล ดาดวง
๶ครื่องหมายและการึϸ๶ȨȨารในภาษาซี
เทวัญ ภูพานทอง
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
ภาษาซึี
Theethawach Wannabundit
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Nookky Anapat
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
ใบความรู้ที่ 5
SubLt Masu
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Komkai Pawuttanon
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทาง๶ลือก
Supicha Ploy
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทาง๶ลือก.
Mink Kamolwan
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทาง๶ลือก
Naphamas
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษา)
Visaitus Palasak
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ปณพล ดาดวง

Similar to ตัวแปรพื้นฐาȨขียนโปรแกรม (20)

PDF
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
ตัวแปรกับชȨึϾองข้อมูล1
patchu0625
PDF
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
งานทำ Blog บทที่ 2
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
ภาษา C
0872671746
PDF
Intro c
Micro4you
PDF
lesson 3
Monberry NooNan
PDF
content 3
Monberry NooNan
PPT
C language
A-kung Vakul
PPT
C language
A-kung Vakul
PPTX
05 ตัวแปรและชนิดของตัวแปร
pirapongaru
PDF
C lu
kaittisak
PDF
3.3 ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
PDF
3.3 ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
PPT
โครงสร้างของภาษา C
ขจรศักดิ์ วิเศษสุนทร
PDF
โจทย์ปัญหา Pbl5
siriyaporn20099
PDF
ภาษาซี๶บื้องต้น
สมใจ สีดาจันทร์
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
ตัวแปรกับชȨึϾองข้อมูล1
patchu0625
3.3. ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
งานทำ Blog บทที่ 2
รัสนา สิงหปรีชา
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
ภาษา C
0872671746
Intro c
Micro4you
C language
A-kung Vakul
C language
A-kung Vakul
05 ตัวแปรและชนิดของตัวแปร
pirapongaru
3.3 ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
3.3 ชนิดของข้อมูล
รัสนา สิงหปรีชา
โครงสร้างของภาษา C
ขจรศักดิ์ วิเศษสุนทร
โจทย์ปัญหา Pbl5
siriyaporn20099
ภาษาซี๶บื้องต้น
สมใจ สีดาจันทร์
Ad

ตัวแปรพื้นฐาȨขียนโปรแกรม

  • 2. ตัวแปรจะเป็นชื่อที่ใช ้ในการบอกจานวนหรือปริมาณ ซึ่งสามารถที่จะทาการ เปลี่ยนแปลงจานวนได ้ด ้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การตั้งชื่อตัวแปร จะต ้องตั้ง ชื่อให ้แตกต่างไปจากชื่อของตัวแปรอื่นๆ ยกตัวอย่างชื่อของตัวแปร ได ้แก่ x, y, peter, num_of_points และ streetnum เป็นต ้น โดยปกติการเขียน โปรแกรมที่ดี ควรจะตั้งชื่อตัวแปรให ้สอดคล ้องกับการทางานหรือหน้าที่ของ ตัวแปรนั้นๆ เพราะเมื่อถึงเวลาต ้องมาทาการปรับปรุงแก ้ไขโปรแกรม จะ สามารถทาได ้โดยไม่ยากนัก
  • 3. ในภาษา C หรือ C++ ได ้มีกฏในการตั้งชื่อตัวแปรที่สามารถใช ้งานได ้ดังนี้ - ชื่อตัวแปรจะต ้องขึ้นต ้นด ้วยตัวอักษร - ชื่อตัวแปรจะประกอบไปด ้วย ตัวอักษร ตัวแลข และ _ ได ้เท่านั้น - ชื่อตัวแปรจะต ้องไม่ใช่ชื่อ reserved word (ชื่อที่มีการจองไว ้แล ้ว) ตัวอย่างของชื่อตัวแปรที่สามารถนามาใช ้ตั้งชื่อได ้ได ้แก่ length, days_in_year, DataSet1, Profit95, Pressure, first_one และตัวอย่างของชื่อ ที่ไม่สามารถนามาใช ้เป็นชื่อตัวแปรได ้ยกตัวอย่างเช่น day-in-year, 1data, int, first.val เป็นต ้น
  • 4. Reserved words หรือตัวแปรที่ได ้จองไว ้แล ้วนั้น จะประกอบไปด ้วย ตัวอักษรตัวเล็กทั้งหมด และจะมีความสาคัญสาหรับภาษา C++ และ จะไม่นามาใช ้ด ้วยวัตถุประสงค์อื่นๆ ตัวอย่างของ Reserved words ได ้แก่ and, bool, break, case, catch, char, class, continue, default, delete, do, double, if , else, enum, export, extern เป็น ต ้น
  • 5. การกาหนดชนิดของตัวแปร (Declaration of Variables) ในภาษา C หรือ C++ (และโปรแกรมในภาษาอื่นๆ) ตัวแปรทุกตัวที่จะมีการเรียกใช ้ในโปรแกรมจาเป็นต ้องมีการ กาหนดชนิดของตัวแปรนั้นๆ ก่อนที่จะทาการเรียกใช ้ตัวแปร การกาหนดชนิดของตัวแปรมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการได ้แก่ - เป็นการบอกชนิด และตั้งชื่อตัวแปรที่จะเรียกใช ้ชนิดของตัวแปรจะทาให ้คอมไพเลอร์สามารถแปลคาสั่งได ้อย่าง ถูกต ้อง (ยกตัวอย่างเช่น ใน CPU คาสั่งที่ใช ้ในการบวกตัวเลขจานวนเต็ม 2 จานวน ย่อมแตกต่างจากคาสั่งที่จะบวก จานวนจริง 2 จานวนเข ้าด ้วยกัน) - ชนิดของตัวแปร ยังเป็นบ่งบอกคอมไพเลอร์ให ้ทราบว่าจะต ้องจัดเตรียมเนื้อที่ให ้กับตัวแปรตัวนั้นมากน้อยเท่าใด และจะจัดวางตัวแปรนั้นไว ้แอดเดรส (Address) ไหนที่สามารถเรียกมาใช ้ใน code ได ้ สาหรับในบทความนี้จะพิจารณาชนิดตัวแปร 4 ชนิดที่ใช ้กันมากได ้แก่ int, float, bool และ char
  • 6. int ชนิดตัวแปรที่สามารถแทนค่าจานวนเต็มได ้ทั้งบวกและลบ โดยปกติสาหรับคอมพิวเตอร์ ทั่วไป คอมไพเลอร์ จะจองเนื้อที่ 2 ไบต์ สาหรับตัวแปรชนิด int จึงทาให ้ค่าของตัวแปรมีค่า ตั้งแต่ -32768 ถึง +32768 ตัวอย่างของค่า int ได ้แก่ 123 -56 0 5645 เป็นต ้น floatชนิดของตัวแปรที่เป็นตัวแทนของจานวนจริง หรือตัวเลขที่มีค่าทศนิยม ความละเอียดของ ตัวเลขหลังจุดทศนิยมขึ้นอยู่กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยปกติแล ้ว ตัวแปรชนิด float จะใช ้เนื้อที่ 4 ไบต์ นั่นคือจะให ้ความละเอียดของตัวเลขหลังจุดทศนิยม 6 ตาแหน่ง และมีค่าอยู่ระหว่าง - 1038 ถึง +1038 ตัวอย่างของค่า float ได ้แก่ 16.315 -0.67 31.567 bool ชนิดของตัวแปรที่สามารถเก็บค่าลอจิก จริง (True) หรือ เท็จ (False) ตัวแปรชนิดนี้ เป็น ที่รู้จักกันอีกชื่อคือ ตัวแปรบูลีน (Boolean) ตัวอย่างของตัวแปรชนิด bool ได ้แก่ 1 0 true false (เมื่อ 1 = true และ 0 = false) char เป็นชนิดตัวแปรที่เป็นตัวแทนของ ตัวอักษรเพียงตัวเดียว อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือ ตัวอักขระพิเศษ โดยปกติตัวแปรชนิดนี้จะใช ้เนื้อที่เพียง 1 ไบต์ ซึ่งจะให ้ตัวอักษรในรูปแบบที่ แตกต่างกันได ้ถึง 256 ค่า การเขียนรูปแบบของ char หลายๆ ตัว โดยปกติ จะอ ้างอิงกับ American Standard Code for Information Interchange (ASCII) ตัวอย่างของตัวแปรชนิด char ได ้แก่ '+' 'A' 'a' '*' '7' int i, j, count; float sum, product; char ch; bool passed_exam;
  • 7. การให้กาหนดค่าตัวแปร (Variable Assignment) เราสามารถกาหนดค่าให ้กับตัวแปรได ้ด ้วยเครื่องหมาย = ยกตัวอย่าง เช่น int name; // กาหนดตัวแปร name ที่เก็บค่าจานวนเต็ม name = 23; // กาหนดให ้ตัวแปร name มีค่าเป็น 23 ในขณะเดียวกัน เราสามารถใช ้เครื่องหมาย = ระหว่างตัวแปรกับตัวแปร หรือตัวแปรกับจานวนใดๆ ได ้อาทิเช่น change = x1 - x2; mean = (x1 + x2)/2; x = x + 1;
  • 9. name ชื่อของตัวแปร n ขนาดของข ้อความ หรือจานวนอักขระในข ้อความ str ข ้อความเริ่มต ้นที่จะกาหนดให ้กับตัวแปรซึ่งต ้อง เขียนไว ้ภายในเครื่องหมาย " " ตัวแปรสาหรับข้อความ ในภาษา C ไม่มีการกาหนดชนิดของตัวแปรสาหรับข ้อความโดยตรง แต่จะ ใช ้การกาหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการกาหนดขนาดแทน และ จะเรียกตัวแปรสาหรับเก ้บข ้อความว่า ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศ ตัวแปรสตริงแสดงได ้ดังนี้ char name[n] = "str";
  • 10. การใส่ค่าให้ตัวแปร เราสามารถใส่ค่าให ้ตัวแปรได ้โดยการเขียนชื่อ ตัวแปร ตามด ้วยเครื่องหมายเท่ากับ แล ้ว ตาม ด ้วยค่าที่จะใส่ให ้ตัวแปรนั้นๆ ชื่อตัวแปร = ค่าที่จะใส่ให ้; i = 5; ชื่อตัวแปรตัวที่n = ... = ชื่อตัวแปรตัวที่2 = ชื่อตัวแปรตัวที่1 = ค่าที่จะใส่ให ้; c = b = a = ' ';
  • 11. จัดทำโดย นำย พงศ์ปกร สุขเลิศพงศ์ เลขที่20 ปวช.1/4 นำย สำยฟ้ำ ไวยวุฒิ เลขที่ 30 ปวช..1/4 เสนอ อำจำรย์ ญำณิศำ ไหลพึ่งทอง วิชำพื้นฐำนกำรเขียนโปรแกรม