ݺߣ
Submit Search
ครื่องใช้ไฟฟ้า
Aug 30, 2011
Download as ppt, pdf
0 likes
3,102 views
Up To You's Toey
1 of 28
Download now
Download to read offline
Ad
Recommended
ครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
ครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
Sukun khongam
ครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
งานวิทยาศาสตร์ครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์ครื่องใช้ไฟฟ้า
Jirachaya_chumwong
Day 1 -Kinder PPT Q2 Week 1 MATATAG FINA
Day 1 -Kinder PPT Q2 Week 1 MATATAG FINA
FlorSuanCabili
MATATAG KINDERGARTEN Q2 W1 DAY 1 PPT.
วิธีส่งงานทางจีเมลให้ครู
วิธีส่งงานทางจีเมลให้ครู
Pranitee Ratanawijitr
โดยครูแอม ประณิธี รัตนวิจิตร ซึ่งเมื่อวานและวันนี้โดนเด็กนักเรียน ม.4 วานให้ส่งอีเมลงานให้ที โดนใช้ให้ส่งอีเมลบ่อย ครูจึงคิดว่ามันเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องสอนให้นักเรียนทำเองให้เป็น
Astronomy 04
Astronomy 04
Chay Kung
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างและหน้าที่ྺองใบ
โครงสร้างและหน้าที่ྺองใบ
Thanyamon Chat.
ใบ structure leaf
กล้องจุลทรรศȨ
กล้องจุลทรรศȨ
pongrawee
งาȨำเสนอ123
งาȨำเสนอ123
wantnan
กลุ่มที่ 2 3/2
งาȨำเสนอ123
งาȨำเสนอ123
Chanukid Chaisri
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า
Rattanapron Tacomdee
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า ม.3/5
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน1
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน1
chamai
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
krupornpana55
Slหน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
krupornpana55
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาȨฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาȨฟฟ้า
krupornpana55
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
krupornpana55
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า 11 เม.ย.56
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
krupornpana55
ทบทวȨฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวȨฟฟ้าอย่างง่าย
krupornpana55
งาน Sideshare
งาน Sideshare
Thananop
งาน Sideshare
งาน Sideshare
Thananop Ngandee
Ad
More Related Content
Viewers also liked
(20)
งาȨำเสนอ123
งาȨำเสนอ123
Chanukid Chaisri
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า
Rattanapron Tacomdee
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า ม.3/5
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน1
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน1
chamai
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
krupornpana55
Slหน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
krupornpana55
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาȨฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาȨฟฟ้า
krupornpana55
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
krupornpana55
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า 11 เม.ย.56
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
krupornpana55
ทบทวȨฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวȨฟฟ้าอย่างง่าย
krupornpana55
งาȨำเสนอ123
งาȨำเสนอ123
Chanukid Chaisri
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้า
Rattanapron Tacomdee
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน1
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน1
chamai
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม10
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม7
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม11
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม4
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม9
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม12
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม6
krupornpana55
Slหน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า ทดสอบก่อนเรียน
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
Pwหน่วยย่อยที่ 4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรม13
krupornpana55
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาȨฟฟ้า
Slปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลังงาȨฟฟ้า
krupornpana55
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
Pwหน่วยย่อยที่ 2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน กิจกรรม5
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม2
krupornpana55
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 3 พลังงาȨฟฟ้า 11 เม.ย.56
krupornpana55
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
Pwหน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม3
krupornpana55
ทบทวȨฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวȨฟฟ้าอย่างง่าย
krupornpana55
Similar to ครื่องใช้ไฟฟ้า
(20)
งาน Sideshare
งาน Sideshare
Thananop
งาน Sideshare
งาน Sideshare
Thananop Ngandee
งาȨำเสนอ1
งาȨำเสนอ1
kob08263
งาȨำเสนอ
งาȨำเสนอ
sangzaclub
M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
orohimaro
M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
Vvv
Vvv
orohimaro
ครื่องใช้ไฟฟ้า
ครื่องใช้ไฟฟ้า
aing_siripatra
ครื่องใช้ไฟฟ้า
ครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
จาตุรงค์ พระวิฑูรย์
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong20155
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong2012
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
thanawan302
งาȨฟฟ้า
งาȨฟฟ้า
Natdanai Kumpao
งาȨฟฟ้า
งาȨฟฟ้า
Natdanai Kumpao
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
0841766393
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
Kanoknat Kaosim
ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
การเปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้า
งาน Sideshare
งาน Sideshare
Thananop
งาน Sideshare
งาน Sideshare
Thananop Ngandee
งาȨำเสนอ1
งาȨำเสนอ1
kob08263
งาȨำเสนอ
งาȨำเสนอ
sangzaclub
M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
orohimaro
M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
Vvv
Vvv
orohimaro
ครื่องใช้ไฟฟ้า
ครื่องใช้ไฟฟ้า
aing_siripatra
ครื่องใช้ไฟฟ้า
ครื่องใช้ไฟฟ้า
Sarun Boonwong
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
จาตุรงค์ พระวิฑูรย์
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong20155
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง ครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
jaturong2012
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
thanawan302
งาȨฟฟ้า
งาȨฟฟ้า
Natdanai Kumpao
งาȨฟฟ้า
งาȨฟฟ้า
Natdanai Kumpao
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
0841766393
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
ครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
Kanoknat Kaosim
ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
Ad
ครื่องใช้ไฟฟ้า
1.
ครื่องใช้ไฟฟ้า
2.
ครื่องใช้ไฟฟ้า คืออุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่
1. ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง 2. ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน 3. ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล 4. ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
3.
ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง หลอดไฟฟ้า
เป็นครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงาȨฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ 1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา 2. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ 3. หลอดไฟนีออน
4.
หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้ 1. ไส้หลอด ทำด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง เช่น ทังสเตน
5.
2.
หลอดแก้ว ทำจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อยก๊าซชนิดนี้ทำปฏิกิริยายาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้วและช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทำปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทำให้ไส้หลอดขาดง่าย 3. ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว
6.
หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ ( Fluorescent
Lamp ) ทำด้วยหลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทำเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมได้ ส่วนประกอบและการทำงานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้
7.
1. ตัวหลอด
ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต เป็นต้น 2. ไส้หลอด ทำด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทำให้ไอปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น
8.
แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทำให้ความต้านทานของหลอดสูง 3.
สตาร์ตเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทำด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อนเมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทำให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทำให้กลายเป็นวงจรปิดทำให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่นโลหะได้ครบวงจร
9.
ก๊าซนีออนที่ติดไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทำให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่งขณะเดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้นมาก ปรอทก็จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นำกระแสไฟฟ้าได้
4. แบลลัสต์ เป็นขดลวดที่พันอยู่บนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้น
10.
เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนั้น จะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในแบลลัสต์ จึงทำให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสองข้างสูงขึ้นเพียง
พอที่จะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่งได้ เคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่เกิดจากแบลลัสต์นั้นจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าในบ้าน ทำให้กระแส ไฟฟ้าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง
11.
12.
หลอดไฟนีออน
เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็นรูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้าทำด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10 , 00 โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆออกมาเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซฮีเลียมให้แสงสีชมพู
13.
ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทำให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็นอิออน และนำไฟฟ้าได้เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทำให้ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสีต่างๆได้
14.
ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน
โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนำนั้นจะร้อนจนสามารถนำความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลืองพลังงาȨฟฟ้ามากเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ
15.
เมื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน ฉะนั้นขณะใช้ครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
ตัวอย่างครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้ำ เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
16.
ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานกล
โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่ามอตอร์และเครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่อง ซักผ้า เครื่องปั่นน้ำผลไม้ ฯลฯ
17.
18.
มอตอร์
เป็นครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานกล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทำให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
19.
มอตอร์
มี 2 ประเภท คือ มอตอร์กระแสตรง และ มอตอร์กระแสสลับ มอตอร์กระแสตรง เป็นมอตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านเข้าไปในขดลวดอาร์เมเจอร์เพื่อทำให้เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวดมอตอร์จึงหมุนได้
20.
มอตอร์กระแสสลับ เป็นมอตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ
โดยใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดมาทำให้เกิดการหมุนของมอตอร์
21.
การเลือกครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล จะต้องพิจารณาดูข้อกำหนดในการใช้ เช่น
ใช้กับความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่าใด ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยในการใช้ครื่องใช้ไฟฟ้า และไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ ครื่องใช้ไฟฟ้านั้น และเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาȨฟฟ้า ควรพิจารณา กำลังไฟฟ้า ของครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆด้วย
22.
ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง ครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่เครื่องรับวิทยุเครื่องบันทึกเสียง
ฯลฯ เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลำโพงจะทำให้ลำโพงสั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้
23.
เครื่องบันทึกเสียง ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่านไมโครโฟน
ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก
24.
ครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิดขณะใช้งานจะมีการเปลี่ยนรูปพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานอื่นได้พร้อมกันหลายรูปแบบ เช่น โทรทัศน์
จะเปลี่ยนรูปพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานแสงและ พลังงานเสียง ไดร์เป่าผม จะเปลี่ยนรูปพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานกลและ พลังงานความร้อน วิทยุเทป จะเปลี่ยนรูปพลังงาȨฟฟ้าเป็นพลังงานกลและ พลังงานเสียง เป็นต้น
25.
26.
ประหยัดพลังงาน ลดภาวะโลกร้อน
27.
บรรณานุกรม www.thaigoodview.com www.trueplookpanya.com
www.smtv . com
28.
การเลือกครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
จัดทำโดย ด . ญ . ผกามาศ คำทา ม . 3/1 เลขที่ 12 ด . ญ . ฐิติปวีณี ฟูแสง ม . 3/1 เลขที่ 17 ด . ญ . ตุลาวัลย์ กองแก้ว ม . 3/1 เลขที่ 19 ด . ญ . นฤมล วาเพ็ชร ม . 3/1 เลขที่ 20 ด . ญ . รวินทร์นิภา มาดูเหมา ม . 3/1 เลขที่ 29 ด . ญ . อารีรัตน์ สุยะ ม . 3/1 เลขที่ 38
Download