ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
การวัด ความดัน ในหลอดเลือ ดดำา กลาง
             Central Venous Pressure Monitoring
วัต ถุป ระสงค์

      เพื่อประเมินสารนำ้าในร่างกาย

ความหมาย
      Central Venous Pressure (CVP) หมายถึง ความดันในหลอดเลือดดำา
Superior Vena Cava (SVC) ซึ่งมีค่าเท่ากับความดันของ right atrium (RA)
และเป็นการแสดงถึง preload ของ right ventricle (RV) หรือ right
ventricular end-diastolic pressure (RVEDP)
      ค่า CVP จะบอกได้ถึงปริมาณนำ้าและเลือดที่ไหลเวียนในร่างกาย
ประสิทธิภาพของ right ventricle และ venous capacitance ปริมาณนำ้า
                    หรือเลือดในหัวใจซีกซ้าย (Left Atrial Pressure,
                    LAP) อาจวัดโดยการใส่สาย polyvinyl catheter
                    เข้าไปใน left atrium โดยตรงระหว่างการผ่าตัดหัวใจ
                    แบบเปิด หรือโดยใส่ Swan-Ganz catheter ผ่านทาง
                    เส้นเลือดดำาใหญ่เข้าสู่ pulmonary artery และวัด
                    Pulmonary Capillary Wedge Pressure (PCWP)
                    ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับความดันใน left atrium


ข้อ บ่ง ชีใ นการ monitor CVP มีด ง นี้
          ้                           ั
1. ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะ sepsis และ
กรณีอื่นที่ทำาให้ปริมาณเลือดและนำ้าในร่างกายลดลง
2. ในผู้ป่วยที่มีภาวะนำ้าเกิน
3. ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำางานของหัวใจและหลอดเลือด

ตำา แหน่ง เส้น เลือ ดที่ใ ช้ส ำา หรับ monitor CVP
เช่น Basilic vein
           Brachial vein
           Cephalic vein
           Saphenous vein
          นอกจากนี้สามารถ monitor CVP ทาง catheter ซึ่งแทงผ่านผิวหนัง
เข้าไปในเส้นเลือดดำาใหญ่ ได้แก่ External/Internal jugular vein หรือทาง
Subclavian vein catheter

สาย catheter ซึ่งมักใช้ feeding tube No. 8 ยาว 100 cm. โดยปลายสาย
จะอยู่ที่ Superior Vena Cava ก่อนเข้า right atrium ในกรณีที่ผู้ป่วยใส่
Swan-Ganz catheter สามารถ monitor CVP ได้ทาง proximal line ซึ่งมีรู
เปิดอยู่ใน right atrium
วิธ ีก ารวัด CVP
1. บอกให้ผู้ป่วยทราบและล้างมือให้สะอาด
2. จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบ (ผู้ป่วยบางรายมีข้อจำากัดในการนอนราบหรือ
อาจหอบ
เหนื่อยขณะที่นอนราบ จัดท่าศีรษะสูงได้ไม่เกิน 45 องศา) และแขนขาขณะที่วัด
ควรเหยียดตรง
3. หาตำาแหน่งของ zero จุดตัดของ midaxillary line กับ fourth
intercostal space และอาจขีดระดับ




ไม่ว่าจะเป็น external jugular ,subclavian vein,cutdown ให้วัดที่
ตำาแหน่ง zero หรือ phlebostatic axis

4. หมุน three-way ให้ IV fluid ไหลเข้าไปในสาย iv ด้านไม้บรรทัด โดยปิด
ด้านผู้ป่วยไว้ก่อน ควรให้ IV fluid อยู่ในสาย ในระดับเกือบเต็มสาย หรือ
มากกว่าค่าเดิม (ประมาณ 5 cm) จากนั้นหมุนปิด three-way ด้านไม้บรรทัด
5. นำาไม้บรรทัดวางทาบที่ผู้ป่วย โดยให้ตำาแหน่งของ zero หรือเลขศูนย์ ซึ่งจุดที่
วางต้องอยู่ระดับเดียวกับ right atrium นั่นคือที่ตำาแหน่งจุดตัดของ
midaxillary line กับ fourth intercostal space

6. หมุน three-way เปิดเฉพาะด้านผู้ป่วยกับไม้บรรทัด ปิดด้าน IV (กรณีที่มี
three-way หลายอัน ให้ปรับเฉพาะอันที่อยู่ติดกับสาย cut down หรืออันที่มี
ไม้บรรทัด)
7. การอ่านค่า CVP ที่ work ดี จะต้อง fluctuate หรือมีการเต้นขึ้นลงของระดับ
นำ้าในสายที่ไม้บรรทัดตามจังหวะการหายใจ (หากพบว่าเต้นขึ้นลงตามชีพจร
แสดงว่าปลายสาย CVP อยู่ลึกเกินไปลงเข้าไปถึงในหัวใจ) ให้อ่านค่าเมื่อเริ่มคงที่
โดยอ่านค่าช่วงหายใจออกสุด (end of expiration) เนื่องจากความดันในช่อง
ทรวงอกจะใกล้เคียงกับความดันบรรยากาศ
*กรณีที่ผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ และสามารถหายใจเองได้ ไม่มีหอบเหนื่อย
ขณะอ่านค่าให้ปลดเครื่องช่วยหายใจ เนื่องจากเครื่องช่วยหายใจจะทำาให้ได้ค่า
CVP สูงกว่าค่าจริง
*กรณีที่มีการใส่ PEEP จะทำาให้ค่า CVP สูงกว่าค่าจริงมากขึ้น เนื่องจากความดัน
ในช่องทรวงอกมาก แต่ในการวัด CVP ผู้ป่วยที่ on PEEP โดยเฉพาะที่ค่า PEEP
> 5 cmH2O จะวัด CVP โดยไม่ปลดเครื่องช่วยหายใจ ทั้งนี้เนื่องจากผู้ป่วยเหล่า
นี้มักมีภาวะของ hypoxia และการปลดเครื่องบ่อยจะมีผลให้ประสิทธิภาพในการ
ถ่างถุงลมปอดลดลง
ดังนั้นในการอ่านค่า CVP ทุกครั้ง ควรบันทึกไว้ด้วยว่าวัดขณะใส่เครื่องช่วย
หายใจหรือปลดเครื่อง นอนศีรษะสูงกี่องศา
9. เมื่ออ่านค่า CVP เสร็จแล้ว ให้หมุน three-way อยู่ในลักษณะเดิม คือ ปิดด้าน
ไม้บรรทัด
10. ตรวจสอบความเรียบร้อยอีกครั้ง โดยเฉพาะการหมุน three-way, rate IV
fluid และข้อต่อต่างๆ ไม่ให้หลวมหรือหลุด
11. จัดท่าผู้ป่วยให้เหมือนเดิมหรือตามความเหมาะสม

การแปลค่า CVP
- ใช้ pressure transducer ซึ่งจะมีหน่วยเป็น millimeters of mercury
(mmHg)
- ใช้ water manometer หรือใช้ไม้บรรทัดที่มีสายยาง (extension tube) ซึ่ง
ใช้บ่อยบนคลินิก จะมีหน่วยเป็น centimeters of water (cmH2O)
หมายเหตุ: 1 cmH2O=1.36 mmHg ,1mmHg.= 0.76 cmH2O
       ค่า CVP ปกติ อาจอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O ทั้งนี้มักใช้ค่า CVP ในการ
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงจากการรักษาในผู้ป่วยรายนั้นๆ มากกว่า
       ค่า CVP ตำ่า หมายถึง ปริมาณนำ้าและเลือดในร่างกายลดลง
       ค่า CVP สูงขึ้นมัก หมายถึงปริมาณนำ้าและเลือดในร่างกายมากขึ้น ที่สำาคัญ
ในการแปลค่า CVP จะต้องดูอาการและอาการแสดงอื่นร่วมด้วย เช่น blood
pressure, heart rate, urine output, urine specific gravity,
intake/output, conscious, ฟังปอดได้ยินเสียงผิดปกติ อาการหอบเหนื่อย
ความตึงตัว ความอุ่น เย็น ชื้นของผิวหนัง เป็นต้น
ค่า CVP สูง และตำ่า พบได้ใ นหลายๆ สาเหตุ ดัง นี้
     สาเหตุท ท ำา ให้ CVP สูง
               ี่
            Elevated vascular volume
            Increased cardiac output (hyperdynamic cardiac
function)
            Depressed cardiac function (RV infarct, RV failure)
            Cardiac tamponade
            Constrictive pericarditis
            Pulmonary hypertension
            Chronic left ventricular failure
     สาเหตุท ท ำา ให้ CVP ตำ่า
                  ี่
            Reduced vascular volume
            Decreased mean systemic pressure (e.g., as in late
shock state)
            Venodilation (drug induced)




                     Central Venous Pressure Monitoring

อุป กรณ์ set IV ,0.9NSS 100ml ,three way,extention
,transducer ,แป้น transducer syring 3 ml

วิธ ีก าร

1.ขั้น ต่อ อุป กรณ์ ต่อ set iv เข้ากับ ขวดนำ้าเกลือ 0.9 NSS 100 ml. แล้วต่อ
สาย IV เข้ากับตัว transducer แล้วต่อสาย extension เข้ากับ transducer
ต่อแป้นสำาหรับวาง transducerg เข้ากับเสานำ้าเกลือ โดยตัวแป้นต้องอยู่ใน
ตำาแหน่ง phlebostatic axis คือ midaxillary line กับ fourth intercostal
space

ดังภาพ



            Set IV


                                                        Extension
จากนั้นเปิดนำ้าเกลือเพื่อไล่ air ที่อยู่ใน set ทั้งหมด เสร็จแล้วต่อสาย extension
เข้ากับสาย cutdown หรือ subclavian vein โดย subclavian ต่อเข้ากับสาย
สีนำ้าตาล หรือ proximal lumen




                            2.ต่อ monitor ต่อสาย cable เข้าที่จอ monitor




                                       สาย




3.การต่อ monitor


เมื่อต่อสาย cable หน้าจอจะปรากฏดังภาพ




เลือกชนิด cable ทีต่อเข้าไปเป็น CVP โดย เลือกไปที่ label เลือก CVP
                  ่
ถึ ง ขั้ น ตอน calibration เมื่ อ วางตำา แหน่ ง transcuder ที่ จุ ด phlebostatic
axis แล้ ว หมุ น three way ของ transducer ด้ า นผู้ ป่ ว ย แล้ ว เปิ ด จุ ก ออก
“close patient open to air”ดังภาพ



กด zero cal รอเครื่อง calibrate ให้ cvp = 0 mmHg

เสร็จแล้วก็หมุน three way มาด้านจุก three way ตามเดิมและปิดจุก




ห ม า ย เ ห ตุ ค ว ร ทำา ก า ร flush ส า ย CVP ทุก เ ว ร เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร อุ ด ตั น
ของสาย และ cribrate เมื่อ wave CVP เมื่อ มีก าร Overdamping




                             การอ่า นค่า CVP wave
จากรูป เป็น ปกติข อง CVP
A wave - occurs after the P wave of the ECG complex during the
PR interval. It reflects the increased atrial pressure that occurs
with atrial contraction. Note that the A wave will be absent in
patients who do not have a distinct atrial contraction, such as
those with atrial fibrillation. Since the CVP value should be a
reflection of the Right Ventricular End-Diastolic Pressure, the CVP
reading is taken at the last half of the A wave at the midpoint of
the X descent. Calculate the CVP by averaging the pressure
measured at the peak
of the A wave and at the subsequent trough. due to atrial
contraction. Absent in atrial fibrillation. Enlarged in tricuspid
stenosis, pulmonary stenosis and pulmonary hypertension.

The C wave - occurs at the end of the QRS complex at the
beginning of the ST segment on the ECG tracing. It reflects
closure of the tricuspid valve between the right atrium and right
ventricle and the slight bulging of the tricuspid valve during
ventricular contraction. The C wave is not always visualized.

X descent - due to atrial relaxation.
The V wave occurs at the end of the T wave on the ECG tracing. It
  reflects the increased
  pressure during passive atrial filling.
  The Y descent occurs prior to the P wave on the ECG tracing. It
  reflects the opening of the
  tricuspid valve and the passive flow of blood from the right
  atrium into the right ventricle
  prior to atrial contraction.
  Canon waves - large waves not corresponding to a, v or c waves.
  Due to complete heart block or junctional arrhythmias.

  ตัว อย่า ง 1




                                                   Measure CVP here
                       Inspiration    Expiration



   ภาวะแทรกซ้อ นทัง จากขั้น ตอนการใส่ส าย CVP และการวัด มีด ัง นี้
                   ้
1. Hemothorax
2. Pneumothorax
3. Nerve injury
4. Arterial puncture
5. Thoracic duct perforation
6. Arrhythmias
7. Systemic or local infection
8. Perforation or erosion of vascular structure
9. Thrombosis
10. Air embolism
11. Blood loss จากข้อต่อหลุด
12. Volume overload จากลืมปรับ rate IV หลังวัด CVP
   FIGURE 3



  FIGURE


                                 เอกสารอ้า งอิง
AnaesthesiaUK.The central venous pressure trace.จาก
     http://www.frca.co.uk/article.aspx?articleid=100036         ค้น
     เมื่อ 10 ธันวาคม 2555
Elaine cole.Measuring central venous pressure.Senior lecturer
ED/Trauma, City University Bartsand the London NHS
Trust.จาก www.Cetl.org.uk .ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2555
Olando health. Fundamentals of Hemodynamic Monitoring : ค้น
เมื่อ 1 ธันวาคม 2555
ทนันชัย บุญบูรพงศ์.Central Venous Pressure Monitoring:ค้นเมื่อ 1
ธันวาคม 2555
นุชนารถ บุญจึงมงคล ,ตันหยง พิพานเมฆาภรณ์.Advanced Hemodynamic
monitoring :จาก          http://www.google.co.th/url?
sa=t&rct=j&q=advanced%20hemodynamic%20monitoring
%20&source= web&cd=1&cad=rja&ved=0CD0QFjAA&url=http
%3A%2F%2Fthaists.org%2Fnews_files%2Fnews_file

_385.pdf&ei=CkDHUI3GL8TorQfCgYHIDA&usg=AFQjCNFZOuIrMeF
Ds5z0KlgpVQhx0eAbYA&bvm= bv.1354675689,d.bmk: ค้นเมื่อ 1
ธันวาคม 2555

More Related Content

What's hot (20)

Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
piyarat wongnai
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
techno UCH
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
การอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Loveis1able Khumpuangdee
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
Prathan Somrith
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
จำแนกประ๶ภท
จำแนกประ๶ภทจำแนกประ๶ภท
จำแนกประ๶ภท
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Narenthorn EMS Center
Atls for nurse
Atls for nurse Atls for nurse
Atls for nurse
Mai Parachy
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
piyarat wongnai
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
techno UCH
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
การอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่าȨ๶ละ๶๶ปลผลคลื่Ȩฟฟ้าหัวใจที่๶ต้Ȩิดจังหวะสำหรับพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Loveis1able Khumpuangdee
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
Prathan Somrith
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Narenthorn EMS Center

Similar to การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui (20)

การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
Susheewa Mulmuang
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
taem
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
nessasup nessasup
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
eremslad
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distress
taem
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
maxx061
Approach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in ThaiApproach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in Thai
Thorsang Chayovan
Thai update on pulmonary hypertension 2009
Thai update on pulmonary hypertension 2009Thai update on pulmonary hypertension 2009
Thai update on pulmonary hypertension 2009
Thorsang Chayovan
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
jiratiyarapong
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2
vora kun
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
Susheewa Mulmuang
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurseTAEM10:Roles of endoscopic nurse
TAEM10:Roles of endoscopic nurse
taem
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
eremslad
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distress
taem
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
maxx061
Approach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in ThaiApproach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in Thai
Thorsang Chayovan
Thai update on pulmonary hypertension 2009
Thai update on pulmonary hypertension 2009Thai update on pulmonary hypertension 2009
Thai update on pulmonary hypertension 2009
Thorsang Chayovan
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
jiratiyarapong
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2
vora kun

Recently uploaded (8)

เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kinetic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kineticเฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kinetic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kinetic
Thanuphong Ngoapm
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptx
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptxแผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptx
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptx
AsmahHjsaeh
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematicเฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematic
Thanuphong Ngoapm
บทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdf
บทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdfบทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdf
บทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdf
medixmarket1
บทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdf
บทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdfบทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdf
บทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdf
medixmarket1
ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdf
ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdfปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdf
ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdf
ssuser732f9f
Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
Postharvest Technology Innovation Center
อภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdf
อภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdfอภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdf
อภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdf
ssuser732f9f
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kinetic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kineticเฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kinetic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์particle kinetic
Thanuphong Ngoapm
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptx
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptxแผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptx
แผนการจัดการเรียนรู้ 2 3 4 5 6 การสะกดคำ short vowel (cvc).pptx
AsmahHjsaeh
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematicเฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematic
เฉลยแบบฝึกหัดวิชาdynamic_พลศาสตร์rigid kinematic
Thanuphong Ngoapm
บทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdf
บทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdfบทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdf
บทที่ 7 การเคราะห์อุบัติเหตุในการทำงาน.pdf
medixmarket1
บทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdf
บทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdfบทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdf
บทที่ 8 การบริหารจัดการอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล.pdf
medixmarket1
ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdf
ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdfปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdf
ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy) by Philosophychicchic.pdf
ssuser732f9f
Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
Postharvest Newsletter ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2568
Postharvest Technology Innovation Center
อภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdf
อภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdfอภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdf
อภิปรัชญา (Metaphysics) by Philosophychicchic.pdf
ssuser732f9f

การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui

  • 1. การวัด ความดัน ในหลอดเลือ ดดำา กลาง Central Venous Pressure Monitoring วัต ถุป ระสงค์ เพื่อประเมินสารนำ้าในร่างกาย ความหมาย Central Venous Pressure (CVP) หมายถึง ความดันในหลอดเลือดดำา Superior Vena Cava (SVC) ซึ่งมีค่าเท่ากับความดันของ right atrium (RA) และเป็นการแสดงถึง preload ของ right ventricle (RV) หรือ right ventricular end-diastolic pressure (RVEDP) ค่า CVP จะบอกได้ถึงปริมาณนำ้าและเลือดที่ไหลเวียนในร่างกาย ประสิทธิภาพของ right ventricle และ venous capacitance ปริมาณนำ้า หรือเลือดในหัวใจซีกซ้าย (Left Atrial Pressure, LAP) อาจวัดโดยการใส่สาย polyvinyl catheter เข้าไปใน left atrium โดยตรงระหว่างการผ่าตัดหัวใจ แบบเปิด หรือโดยใส่ Swan-Ganz catheter ผ่านทาง เส้นเลือดดำาใหญ่เข้าสู่ pulmonary artery และวัด Pulmonary Capillary Wedge Pressure (PCWP) ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับความดันใน left atrium ข้อ บ่ง ชีใ นการ monitor CVP มีด ง นี้ ้ ั 1. ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด ภาวะ sepsis และ กรณีอื่นที่ทำาให้ปริมาณเลือดและนำ้าในร่างกายลดลง 2. ในผู้ป่วยที่มีภาวะนำ้าเกิน 3. ในกรณีที่ต้องการประเมินการทำางานของหัวใจและหลอดเลือด ตำา แหน่ง เส้น เลือ ดที่ใ ช้ส ำา หรับ monitor CVP เช่น Basilic vein Brachial vein Cephalic vein Saphenous vein นอกจากนี้สามารถ monitor CVP ทาง catheter ซึ่งแทงผ่านผิวหนัง เข้าไปในเส้นเลือดดำาใหญ่ ได้แก่ External/Internal jugular vein หรือทาง Subclavian vein catheter สาย catheter ซึ่งมักใช้ feeding tube No. 8 ยาว 100 cm. โดยปลายสาย จะอยู่ที่ Superior Vena Cava ก่อนเข้า right atrium ในกรณีที่ผู้ป่วยใส่ Swan-Ganz catheter สามารถ monitor CVP ได้ทาง proximal line ซึ่งมีรู เปิดอยู่ใน right atrium
  • 2. วิธ ีก ารวัด CVP 1. บอกให้ผู้ป่วยทราบและล้างมือให้สะอาด 2. จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบ (ผู้ป่วยบางรายมีข้อจำากัดในการนอนราบหรือ อาจหอบ เหนื่อยขณะที่นอนราบ จัดท่าศีรษะสูงได้ไม่เกิน 45 องศา) และแขนขาขณะที่วัด ควรเหยียดตรง 3. หาตำาแหน่งของ zero จุดตัดของ midaxillary line กับ fourth intercostal space และอาจขีดระดับ ไม่ว่าจะเป็น external jugular ,subclavian vein,cutdown ให้วัดที่ ตำาแหน่ง zero หรือ phlebostatic axis 4. หมุน three-way ให้ IV fluid ไหลเข้าไปในสาย iv ด้านไม้บรรทัด โดยปิด ด้านผู้ป่วยไว้ก่อน ควรให้ IV fluid อยู่ในสาย ในระดับเกือบเต็มสาย หรือ มากกว่าค่าเดิม (ประมาณ 5 cm) จากนั้นหมุนปิด three-way ด้านไม้บรรทัด 5. นำาไม้บรรทัดวางทาบที่ผู้ป่วย โดยให้ตำาแหน่งของ zero หรือเลขศูนย์ ซึ่งจุดที่ วางต้องอยู่ระดับเดียวกับ right atrium นั่นคือที่ตำาแหน่งจุดตัดของ midaxillary line กับ fourth intercostal space 6. หมุน three-way เปิดเฉพาะด้านผู้ป่วยกับไม้บรรทัด ปิดด้าน IV (กรณีที่มี three-way หลายอัน ให้ปรับเฉพาะอันที่อยู่ติดกับสาย cut down หรืออันที่มี ไม้บรรทัด)
  • 3. 7. การอ่านค่า CVP ที่ work ดี จะต้อง fluctuate หรือมีการเต้นขึ้นลงของระดับ นำ้าในสายที่ไม้บรรทัดตามจังหวะการหายใจ (หากพบว่าเต้นขึ้นลงตามชีพจร แสดงว่าปลายสาย CVP อยู่ลึกเกินไปลงเข้าไปถึงในหัวใจ) ให้อ่านค่าเมื่อเริ่มคงที่ โดยอ่านค่าช่วงหายใจออกสุด (end of expiration) เนื่องจากความดันในช่อง ทรวงอกจะใกล้เคียงกับความดันบรรยากาศ *กรณีที่ผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ และสามารถหายใจเองได้ ไม่มีหอบเหนื่อย ขณะอ่านค่าให้ปลดเครื่องช่วยหายใจ เนื่องจากเครื่องช่วยหายใจจะทำาให้ได้ค่า CVP สูงกว่าค่าจริง *กรณีที่มีการใส่ PEEP จะทำาให้ค่า CVP สูงกว่าค่าจริงมากขึ้น เนื่องจากความดัน ในช่องทรวงอกมาก แต่ในการวัด CVP ผู้ป่วยที่ on PEEP โดยเฉพาะที่ค่า PEEP > 5 cmH2O จะวัด CVP โดยไม่ปลดเครื่องช่วยหายใจ ทั้งนี้เนื่องจากผู้ป่วยเหล่า นี้มักมีภาวะของ hypoxia และการปลดเครื่องบ่อยจะมีผลให้ประสิทธิภาพในการ ถ่างถุงลมปอดลดลง ดังนั้นในการอ่านค่า CVP ทุกครั้ง ควรบันทึกไว้ด้วยว่าวัดขณะใส่เครื่องช่วย หายใจหรือปลดเครื่อง นอนศีรษะสูงกี่องศา 9. เมื่ออ่านค่า CVP เสร็จแล้ว ให้หมุน three-way อยู่ในลักษณะเดิม คือ ปิดด้าน ไม้บรรทัด 10. ตรวจสอบความเรียบร้อยอีกครั้ง โดยเฉพาะการหมุน three-way, rate IV fluid และข้อต่อต่างๆ ไม่ให้หลวมหรือหลุด 11. จัดท่าผู้ป่วยให้เหมือนเดิมหรือตามความเหมาะสม การแปลค่า CVP - ใช้ pressure transducer ซึ่งจะมีหน่วยเป็น millimeters of mercury (mmHg) - ใช้ water manometer หรือใช้ไม้บรรทัดที่มีสายยาง (extension tube) ซึ่ง ใช้บ่อยบนคลินิก จะมีหน่วยเป็น centimeters of water (cmH2O) หมายเหตุ: 1 cmH2O=1.36 mmHg ,1mmHg.= 0.76 cmH2O ค่า CVP ปกติ อาจอยู่ในช่วง 6-12 cmH2O ทั้งนี้มักใช้ค่า CVP ในการ เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงจากการรักษาในผู้ป่วยรายนั้นๆ มากกว่า ค่า CVP ตำ่า หมายถึง ปริมาณนำ้าและเลือดในร่างกายลดลง ค่า CVP สูงขึ้นมัก หมายถึงปริมาณนำ้าและเลือดในร่างกายมากขึ้น ที่สำาคัญ ในการแปลค่า CVP จะต้องดูอาการและอาการแสดงอื่นร่วมด้วย เช่น blood pressure, heart rate, urine output, urine specific gravity, intake/output, conscious, ฟังปอดได้ยินเสียงผิดปกติ อาการหอบเหนื่อย ความตึงตัว ความอุ่น เย็น ชื้นของผิวหนัง เป็นต้น
  • 4. ค่า CVP สูง และตำ่า พบได้ใ นหลายๆ สาเหตุ ดัง นี้ สาเหตุท ท ำา ให้ CVP สูง ี่ Elevated vascular volume Increased cardiac output (hyperdynamic cardiac function) Depressed cardiac function (RV infarct, RV failure) Cardiac tamponade Constrictive pericarditis Pulmonary hypertension Chronic left ventricular failure สาเหตุท ท ำา ให้ CVP ตำ่า ี่ Reduced vascular volume Decreased mean systemic pressure (e.g., as in late shock state) Venodilation (drug induced) Central Venous Pressure Monitoring อุป กรณ์ set IV ,0.9NSS 100ml ,three way,extention ,transducer ,แป้น transducer syring 3 ml วิธ ีก าร 1.ขั้น ต่อ อุป กรณ์ ต่อ set iv เข้ากับ ขวดนำ้าเกลือ 0.9 NSS 100 ml. แล้วต่อ สาย IV เข้ากับตัว transducer แล้วต่อสาย extension เข้ากับ transducer ต่อแป้นสำาหรับวาง transducerg เข้ากับเสานำ้าเกลือ โดยตัวแป้นต้องอยู่ใน ตำาแหน่ง phlebostatic axis คือ midaxillary line กับ fourth intercostal space ดังภาพ Set IV Extension
  • 5. จากนั้นเปิดนำ้าเกลือเพื่อไล่ air ที่อยู่ใน set ทั้งหมด เสร็จแล้วต่อสาย extension เข้ากับสาย cutdown หรือ subclavian vein โดย subclavian ต่อเข้ากับสาย สีนำ้าตาล หรือ proximal lumen 2.ต่อ monitor ต่อสาย cable เข้าที่จอ monitor สาย 3.การต่อ monitor เมื่อต่อสาย cable หน้าจอจะปรากฏดังภาพ เลือกชนิด cable ทีต่อเข้าไปเป็น CVP โดย เลือกไปที่ label เลือก CVP ่
  • 6. ถึ ง ขั้ น ตอน calibration เมื่ อ วางตำา แหน่ ง transcuder ที่ จุ ด phlebostatic axis แล้ ว หมุ น three way ของ transducer ด้ า นผู้ ป่ ว ย แล้ ว เปิ ด จุ ก ออก “close patient open to air”ดังภาพ กด zero cal รอเครื่อง calibrate ให้ cvp = 0 mmHg เสร็จแล้วก็หมุน three way มาด้านจุก three way ตามเดิมและปิดจุก ห ม า ย เ ห ตุ ค ว ร ทำา ก า ร flush ส า ย CVP ทุก เ ว ร เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร อุ ด ตั น ของสาย และ cribrate เมื่อ wave CVP เมื่อ มีก าร Overdamping การอ่า นค่า CVP wave
  • 7. จากรูป เป็น ปกติข อง CVP A wave - occurs after the P wave of the ECG complex during the PR interval. It reflects the increased atrial pressure that occurs with atrial contraction. Note that the A wave will be absent in patients who do not have a distinct atrial contraction, such as those with atrial fibrillation. Since the CVP value should be a reflection of the Right Ventricular End-Diastolic Pressure, the CVP reading is taken at the last half of the A wave at the midpoint of the X descent. Calculate the CVP by averaging the pressure measured at the peak of the A wave and at the subsequent trough. due to atrial contraction. Absent in atrial fibrillation. Enlarged in tricuspid stenosis, pulmonary stenosis and pulmonary hypertension. The C wave - occurs at the end of the QRS complex at the beginning of the ST segment on the ECG tracing. It reflects closure of the tricuspid valve between the right atrium and right ventricle and the slight bulging of the tricuspid valve during ventricular contraction. The C wave is not always visualized. X descent - due to atrial relaxation.
  • 8. The V wave occurs at the end of the T wave on the ECG tracing. It reflects the increased pressure during passive atrial filling. The Y descent occurs prior to the P wave on the ECG tracing. It reflects the opening of the tricuspid valve and the passive flow of blood from the right atrium into the right ventricle prior to atrial contraction. Canon waves - large waves not corresponding to a, v or c waves. Due to complete heart block or junctional arrhythmias. ตัว อย่า ง 1 Measure CVP here Inspiration Expiration ภาวะแทรกซ้อ นทัง จากขั้น ตอนการใส่ส าย CVP และการวัด มีด ัง นี้ ้ 1. Hemothorax 2. Pneumothorax 3. Nerve injury 4. Arterial puncture 5. Thoracic duct perforation 6. Arrhythmias 7. Systemic or local infection 8. Perforation or erosion of vascular structure 9. Thrombosis 10. Air embolism 11. Blood loss จากข้อต่อหลุด 12. Volume overload จากลืมปรับ rate IV หลังวัด CVP FIGURE 3 FIGURE เอกสารอ้า งอิง
  • 9. AnaesthesiaUK.The central venous pressure trace.จาก http://www.frca.co.uk/article.aspx?articleid=100036 ค้น เมื่อ 10 ธันวาคม 2555 Elaine cole.Measuring central venous pressure.Senior lecturer ED/Trauma, City University Bartsand the London NHS Trust.จาก www.Cetl.org.uk .ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2555 Olando health. Fundamentals of Hemodynamic Monitoring : ค้น เมื่อ 1 ธันวาคม 2555 ทนันชัย บุญบูรพงศ์.Central Venous Pressure Monitoring:ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2555 นุชนารถ บุญจึงมงคล ,ตันหยง พิพานเมฆาภรณ์.Advanced Hemodynamic monitoring :จาก http://www.google.co.th/url? sa=t&rct=j&q=advanced%20hemodynamic%20monitoring %20&source= web&cd=1&cad=rja&ved=0CD0QFjAA&url=http %3A%2F%2Fthaists.org%2Fnews_files%2Fnews_file _385.pdf&ei=CkDHUI3GL8TorQfCgYHIDA&usg=AFQjCNFZOuIrMeF Ds5z0KlgpVQhx0eAbYA&bvm= bv.1354675689,d.bmk: ค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2555