ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นการส่งเสริม
พัฒนาการ ให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงอย่างเป็นรูปธรรม
โดยการลงมือจัดกระทากับวัตถุสิ่งของ และมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล
ต่าง ๆ ตามความสนใจและเหมาะสมกับวัยของเด็ก ทาให้เด็กเกิด
ทักษะต่าง ๆ เช่น การสังเกต การจาแนก เปรียบเทียบ การลงมือ
ปฏิบัติ เป็นต้น
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
สังเกต การจาแนก เปรียบเทียบ การลงมือปฏิบัติ เป็ นต้น
นอกจากนี้นักจิตวิทยาหลายท่านได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้ที่มี
ความสาคัญต่อการนาไปใช้จัดประสบการณ์แก่เด็กปฐมวัยได้อย่าง
เหมาะสม
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
โดยแบ่งทฤษฎีไว้แตกต่างกันตามหลักการและแนวคิด
(เยาวพา เดชะคุปต์, 2542 : 60 - 68) ซึ่งสามารถนาทฤษฎีการเรียนรู้
นี้ไปประยุกต์ใช้กับการจัดประสบการณ์ส่งเสริมทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัยให้เป็นอย่างดียิ่ง
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
ดังนี้ทฤษฎีการเรียนรู้ของ ธอร์Ȩึϸ์ (Edward L.
Throndike) ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์Ȩึϸ์ หรือทฤษฎี S - R หรือ
ทฤษฎีการเชื่อมโยง (Connectionism Theory) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่สร้าง
ขึ้นโดย เอ็ดเวิร์ด แอล ธอร์Ȩึϸ์ (Edward L. Throndike)
นักจิตวิทยาและนักการศึกษาชาวอเมริกัน
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
ธอร์Ȩึϸ์เชื่อว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างความ
เชื่อมโยงหรือพันธะ (Brand หรือ Connection) ระหว่างสิ่งเร้ากับ
การตอบสนอง โดยอาศัยการลองผิดลองถูก(Trial and Error)จนกว่า
จะพบรูปแบบที่ดี เหมาะสมที่สุดหลักการเรียนรู้ กฎการเรียนรู้
ของธอร์Ȩึϸ์ สรุป 3 ประการ ดังนี้
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) หมายถึง สภาพ
ความพร้อม หรือความมีวุฒิ ภาวะของผู้เรียน ทั้งทางด้านร่างกาย
อวัยวะต่าง ๆ ในการเรียนรู้ และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานประสบการณ์
เดิม สภาพความพร้อมของหู ตา ประสาท สมอง กล้ามเนื้อ
ประสบการณ์เดิมที่เชื่อมโยงกับความรู้หรือสิ่งใหม่ ตลอดจนความ
สนใจ ความเข้าใจต่อสิ่งที่เรียน ถ้าผู้เรียนเกิดมีความพร้อมตาม
องค์ประกอบดังกล่าว ก็ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
2.กฎของการฝึกหัด (Law of Exercise) หมายถึง การที่
ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทา ซ้าบ่อย ๆ ก็ย่อมจะทาให้เกิดความ
สมบูรณ์ถูกต้อง ซึ่งกฎนี้เป็นการเน้นความมั่นคงระหว่างการ
เชื่อมโยงและการตอบสนองที่ถูกต้อง ย่อมนามาซึ่งความสมบูรณ์
แห่งการเรียนรู้ กฎของการฝึกหัดแบ่งออกได้เป็น
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
2.กฎของการฝึกหัด (Law of Exercise) ต่อ
2.1 กฎแห่งการใช้ (Law of Use) หมายถึงการฝึกฝน การ
ตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งอยู่เสมอ ย่อมทาให้เกิดพันธะที่แน่น
เฟ้ นระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้แล้ว
ได้นาเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้อยู่เสมอ ก็ทาให้การเรียนรู้เกิดความ
มั่นคงถาวรไม่ลืม
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
2.กฎของการฝึกหัด (Law of Exercise) ต่อ
2.2 กฎแห่งการไม่ใช้ (Law of Disuse) หมายถึง การไม่ได้
ฝึกฝน หรือไม่ได้ใช้ ไม่ได้กระทาบ่อย ๆ ย่อมทาให้ความมั่นคง
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองอ่อนกาลังลง หรือลดความเข้มลง
หรือเมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้แล้วไม่ได้นาความรู้ไปใช้ หรือไม่เคย
ใช้ ย่อมทาให้การทากิจกรรมนั้นไม่ดีเท่าที่ควรหรืออาจจะทาให้
ความรู้นั้นลืมเลือนไปได้
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
3. กฎแห่งความเป็นผล (Law of Effect) กฎนี้เป็นผลที่ทาให้
เกิดความพอใจ กล่าวคือ เมื่ออินทรีย์ได้รับความพอใจ จะทาให้
พันธะหรือสิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองมีความ
เข้มแข็งมั่นคง หรือเกิดความอยากจะเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น แต่ถ้า
อินทรีย์ได้รับผลที่ไม่พอใจก็จะทาให้ไม่อยากเรียน
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
หรือเกิดความเบื่อหน่ายเป็นผลเสียต่อการเรียนรู้การนา
ทฤษฎีของธอร์Ȩึϸ์ไปใช้ในการจัดการศึกษาปฐมวัย ในการจัด
การศึกษาปฐมวัย ครูหรือนักศึกษาสามารถนาแนวคิดของธอร์น
ไดค์ไปใช้ ดังนี้
1. การจัดสิ่งเร้าที่จะกระตุ้นให้เด็กเกิดการตอบสนอง โดย
การสร้างแรงจูงใจ การให้รางวัล เพื่อให้เด็กเกิดความพอใจในการ
เรียน
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
2. จัดหาอุปกรณ์ที่น่าสนใจ เหมาะแก่การเรียนรู้ เพื่อทาให้
เด็กพอใจในการเรียน
3. ให้เด็กมีโอกาสฝึกปฏิบัติหรือทาแบบฝึกหัดบ่อย ๆ จนทา
ได้อย่างคล่องแคล่ว และมีแรงจูงใจ มีความสนใจ เข้าถึงเป้าหมาย
และคุณค่าของสิ่งที่ทา ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยนี้ต้องการได้รับการ
ฝึกฝนให้เกิดทักษะ
ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์
4. การฝึกฝนไม่ควรกระทานาน ๆ จนเด็กรู้สึกจาเจจนเกิด
ความเบื่อหน่าย เพราะเด็ก ในวัยนี้มีช่วงความสนใจต่า เมื่อรู้สึกว่า
เด็กลดความสนใจในสิ่งที่ทาควรเปลี่ยนกิจกรรมเป็นอย่างอื่น หรือ
จัดกิจกรรมหลากหลายให้เด็กได้มีโอกาสฝึกทักษะ
กิจกรรม
ชื่อกิจกรรม : จาได้ไหมเอ่ย?
จุดประสงค์
1.พัฒนาทักษะการเชื่อมโยงการเรียนรู้กับความจา
2.ตอบสนองความต้องการเรื่องการสงสัย ใคร่รู้ และฝึกฝน
ให้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง
อุปกรณ์
1.เกมจับคู่ภาพแบบมัลติมีเดีย
กิจกรรม
ดำเนินกิจกรรม
1.เปิดภาพให้ดูและจาตาแหน่งของภาพแต่ละภาพที่เหมือนกัน
ภายในเวลา 30 วินาที
2.เมื่อครบกาหนดเวลา ให้ผู้เรียนเลือกเปิดภาพทีละแผ่น แล้วหาคู่
ภาพเหมือนให้ตรงกัน โดยกาหนดเวลาให้เล่นกิจกรรมให้เสร็จภาย
เวลา 1.30 นาที
3.ดาเนินกิจกรรมเสร็จภายในเวลาที่กาหนด
4.สรุปผลให้ทราบถึงจานวนคู่ภาพที่สามารถเปิดเจอคู่ได้
กิจกรรม
ประเมินกิจกรรม
George Miller ได้ศึกษาขีดจากัดที่มนุษย์สามารถจะจาได้
ในช่วงความจาระยะสั้น จากการศึกษาพบว่า ตัวเลขหรือตัวหนังสือ
จานวน 7 ตัว เป็นขีดจากัดสูงสุดที่มนุษย์สามารถจาได้ในช่วง
ความจาระยะสั้น
ดังนั้น กิจกรรมนี้หากผู้เรียนสามารถเปิดเจอคู่
ได้70% ถือว่ามีความจาในระดับที่ดีมาก
ข้อคาถาม 5 ข้อ
1.ทฤษฎี “วุฒิภำวะ” ของกีเซลล์ สอดคล้องกับกฎกำรเรียนรู้
ของธอร์Ȩึϸ์ ข้อใด
ก. กฎข้อที่1 กฎแห่งความพร้อม
ข. กฎข้อที่1 กฎแห่งวุฒิภาวะ
ค. กฎข้อที่2 กฎแห่งพอใจ
ง. กฎข้อที่2 กฎแห่งการใช้และไม่ใช้
จ. กฎข้อที่3 กฎแห่งกรรม
เฉลย
ก. กฎข้อที่1 กฎแห่งควำมพร้อม
เพราะ ทฤษฎี “วุฒิภาวะ” ของกีเซลล์ กล่าวถึงความพร้อม
ของเด็ก ถ้าพร้อม คือ พร้อม ถ้าไม่พร้อม อย่าเร่ง! ซึ่งสอดคล้องกับ
กฎของธอร์Ȩึϸ์ ข้อที่1 กฎแห่งความพร้อม สภาพความพร้อม
หรือความมีวุฒิ ภาวะของผู้เรียน ทั้งทางด้านร่างกาย อวัยวะต่าง ๆ
ในการเรียนรู้
ข้อคาถาม 5 ข้อ
2. นักศึกษำคนใดใช้กฎข้อที่2 ของกฎกำรเรียนรู้ของธอร์Ȩึϸ์
ก. นางสาวปานรวีกล่าวคาชมและปรบมือให้น้องโดนัท
หลังจากที่ น้องโดนัท ยกมือตอบคาถามในห้องเรียน
ข.นางสาวกัญญาณัฐ เป็นครูสอนคณิตศาสตร์ที่ใจดีและยิ้ม
แย้มเสมอ จึงทาให้เด็กชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ค. นางสาววราภรณ์ ฝึกเล่นกีตาร์ทุกวันจนเก่งและเล่นเพลง
ได้หลายเพลง
ข้อคาถาม 5 ข้อ
2. นักศึกษำคนใดใช้กฎข้อที่2 ของกฎกำรเรียนรู้ของธอร์Ȩึϸ์(ต่อ)
ง. นางสาวณฐวรจัดห้องเรียนในทุกๆเดือนเพื่อสร้าง
บรรยากาศความแปลกใหม่ให้กับนักเรียน และในทุกชั่วโมงเรียนก็
จะมีสื่อการสอนใหม่ๆมาสอนเด็กเสมอ
จ. นางสาวดวงใจโดนอาจารย์ตาหนิและจับผิดตลอดเวลาจึง
ทาให้ไม่อยากมาเรียน
เฉลย
ค. นำงสำววรำภรณ์ เล่นกีตำร์ทุกวันจนเก่งและเล่นเพลงได้
หลำยเพลง
เพราะ นางสาววราภรณ์ มีการฝึกฝนตามกฎการเรียนรู้
ของธอร์Ȩึϸ์ข้อที่2 คือ กฎของการฝึกหัด อยู่เสมอ
ข้อคาถาม 5 ข้อ
3. “นำยอธิพัชร์ เรียนฟังก์ชันตรีโกณมิต SIN COS TAN ในตอนม.
ปลำย แต่หลังจำกเข้ำมหำวิทยำลัย นำยอธิพัชร์ก็ไม่ได้ใช้สิ่งที่เรียน
มำเลย จึงทำให้ควำมรู้นี้ลืมเลือนไป” จำกตัวอย่ำง นำยอธิพัชร์อยู่ใน
กฎข้อใดของธอร์Ȩึϸ์
ก. กฎข้อที่1 กฎแห่งความพร้อม
ข. กฎข้อที่2 กฎของแบบฝึกหัด
ค. กฎข้อที่3 กฎแห่งความเป็นผล
ข้อคาถาม 5 ข้อ
3. “นำยอธิพัชร์ เรียนฟังก์ชันตรีโกณมิต SIN COS TAN ในตอนม.
ปลำย แต่หลังจำกเข้ำมหำวิทยำลัย นำยอธิพัชร์ก็ไม่ได้ใช้สิ่งที่เรียน
มำเลย จึงทำให้ควำมรู้นี้ลืมเลือนไป” จำกตัวอย่ำง นำยอธิพัชร์อยู่ใน
กฎข้อใดของธอร์Ȩึϸ์ (ต่อ)
ง. กฎข้อที่3 กฎแห่งธรรมชาติของสมอง
จ. กฎข้อที่2 กฎของการฝึกหัด
เฉลย
จ. กฎข้อที่2 กฎของกำรฝึกหัด
อยู่ใน กฎแห่งการไม่ใช้ คือ บุคคลเกิดการเรียนรู้แล้วไม่ได้
นาความรู้ไปใช้ หรือไม่เคยใช้ย่อมทาให้ความรู้นั้นลืมเลือนไปได้
ข้อคาถาม 5 ข้อ
4. นักศึกษำคนใดใช้กฎข้อที่3 ของกฎกำรเรียนรู้ของธอร์Ȩึϸ์
ก. นางสาวปานรวีกล่าวคาชมและปรบมือให้น้องโดนัท
หลังจากที่ น้องโดนัท ยกมือตอบคาถามในห้องเรียน
ข.นางสาวกัญญาณัฐ เป็นครูสอนคณิตศาสตร์ที่ใจดีและยิ้ม
แย้มเสมอ จึงทาให้เด็กชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์
ค. นางสาววราภรณ์ ฝึกเล่นกีตาร์ทุกวันจนเก่งและเล่นเพลง
ได้หลายเพลง
ข้อคาถาม 5 ข้อ
4. นักศึกษำคนใดใช้กฎข้อที่3 ของกฎกำรเรียนรู้ของธอร์Ȩึϸ์ (ต่อ)
ง. นางสาวณฐวรจัดห้องเรียนในทุกๆเดือนเพื่อสร้าง
บรรยากาศความแปลกใหม่ให้กับนักเรียน และในทุกชั่วโมงเรียนก็
จะมีสื่อการสอนใหม่ๆมาสอนเด็กเสมอ
จ. นางสาวดวงใจโดนอาจารย์ตาหนิและจับผิดตลอดเวลาจึง
ทาให้ไม่อยากมาเรียน
เฉลย
ง. นำงสำวณฐวรจัดห้องเรียนในทุกๆเดือนเพื่อสร้ำง
บรรยำกำศควำมแปลกใหม่ให้กับนักเรียน และในทุกชั่วโมงเรียนก็
จะมีสื่อกำรสอนใหม่ๆมำสอนเด็กเสมอ
เพราะ นางสาวณฐวร มีใช้กฎการเรียนรู้ของธอร์Ȩึϸ์ข้อที่
3 คือ กฎแห่งความเป็นผล นางสาวณฐวรสร้างบรรยากาศให้กับ
นักเรียน ทาให้นักเรียนเกิดความพึงพอใจและมีแรงจูงใจที่จะเรียน
ข้อคาถาม 5 ข้อ
5. นักศึกษำคนใดปฎิบัติตนตำมหลักกฎทองคำของธอร์Ȩึϸ์ถูก
ที่สุด
ก. นางสาววริศราจดทุกคาพูดของอาจารย์เพราะคิดว่าทุกสิ่ง
ที่พูดอาจารย์สาคัญทุกอย่าง
ข. นางสาวศิริขวัญนั่งสมาธิก่อนทาการซ้อมพูดScripงาน
ในทุกๆครั้ง ทาให้ทุกครั้งที่เธอพูด เธอมีความมั่นใจและทางาน
ออกมาได้อย่างดี เป็นที่น่าพอใจ
ค. นายอธิพัชร์หมั่นหาความรู้นอกห้องเรียนอยู่เสมอ และยัง
ศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ๆ
ข้อคาถาม 5 ข้อ
5. นักศึกษำคนใดปฎิบัติตนตำมหลักกฎทองคำของธอร์Ȩึϸ์ถูก
ที่สุด(ต่อ)
ง. นางสาวดวงใจซื้ออุปกรณ์ITใหม่ๆ อาทิ
SmartPhone Taplet ทุกครั้งเพราะกลัวว่าจะตามไม่ทัน
นักศึกษาคนอื่นๆ
จ. ผอ.ปานรวี จัดสัมมนาคุณครูในโรงเรียนทุกๆสิ้นปี เพื่อ
แบ่งปันความรู้ระหว่างคุณครูด้วยกันเรื่องเทคนิคการสอน
เฉลย
ข. นำงสำวศิริขวัญนั่งสมำธิก่อนทำกำรซ้อมพูดScripงำน
ในทุกๆครั้ง ทำให้ทุกครั้งที่เธอพูด เธอมีควำมมั่นใจและทำงำน
ออกมำได้อย่ำงดี เป็นที่น่ำพอใจ
เพราะมีการเตรียมความพร้อม ด้วยการนั่งสมาธิเรียกสติ
ตามด้วยการลงมีฝึกฝน ฝึกปฏิบัติ สุดท้ายคือเห็นผลที่เป็นที่น่าพึง
พอใจ ข้อนี้จึงครบและถูกต้องตามกฎทองคาที่สุด
บรรณานุกรม
คณิตศำสตร์แก่เด็กปฐมวัย. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก:
https://sites.google.com/site/caekbrachphotoshop/bthkh/khnitsastr
-kae-dek-pthmway
(วันที่สืบค้น: 21 พฤศจิกายน 2556).
ควำมจำ. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้
จาก:http://eu.lib.kmutt.ac.th/elearning/Courseware/SSC231/Psych
ology/Chapter8/Ch8.pdf
(วันที่สืบค้น: 21 พฤศจิกายน 2556).
บรรณานุกรม
สมวงษ์ แปลงประสพโชค. (ม.ป.ป.). กำรฝึกทักษะ
คณิตศำสตร์โดยวิธี SQTC. เข้าถึงได้จาก:
http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=/DJPoppyLove/ss-51803469/s&frm=1&sou
rce=web&cd=1&ved=0CCoQFjAA&url=http%3A%2F%2Fripnm
ath.com%2Fdoc%2Fsqtc.doc&ei=V8uNUs_BEMT_rQfQ6oC4C
Q&usg=AFQjCNHUEic7ofFrZiVp3OivWsh_Rs3XnQ&bvm=bv.
56987063,d.bmk
(วันที่สืบค้น: 21 พฤศจิกายน 2556).
คณะผู้จัดทำ
หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย ตอนเรียน B1
1.น.ส.ศิริขวัญ นิยมผล รหัส 55113200076
2.น.ส.วริศรำ บุญเสำ รหัส 55113200079
3.น.ส.ภัคจิรำ สำยแวว รหัส 55113200097
4.น.ส.กัญญำณัฐ โคตรโยธี รหัส 55113200100
5.น.ส.ดวงใจ ปั้นคุ้ม รหัส 55113200103
6.น.ส.ปำนรวี สรวลสำยหยุด รหัส 55113200105
7.น.ส.วรำภรณ์ เนตนี รหัส 55113200106
8.นำยอธิพัชร์ ฐำนกีรติพัฒน์ รหัส 55113200111
9.น.ส.ณฐวร แสงสว่ำง รหัส 55113200119

More Related Content

What's hot (20)

การสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกัน
การสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกันการสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกัน
การสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกัน
dnavaroj
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
Twatchai Tangutairuang
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม
Sireetorn Buanak
วิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่นวิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่น
Jindarat JB'x Kataowwy
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
krupornpana55
ธอร์Ȩึϸ์
ธอร์Ȩึϸ์ธอร์Ȩึϸ์
ธอร์Ȩึϸ์
fateemeenorm
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
juriporn chuchanakij
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
NU
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
Nang Ka Nangnarak
โครงงาȨาษาไทย
โครงงาȨาษาไทย โครงงาȨาษาไทย
โครงงาȨาษาไทย
ssuserd40879
การใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัย
การใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัยการใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัย
การใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัย
Janchai Pokmoonphon
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
Namchai
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
จารุวรรณ ชื่นใจชน
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
Kittayaporn Changpan
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
แผȨารสอȨานและพลังงาน
แผȨารสอȨานและพลังงานแผȨารสอȨานและพลังงาน
แผȨารสอȨานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
การสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกัน
การสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกันการสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกัน
การสกัึϸ้ำมัȨอมระ๶หยจากྺ่าต่างชนิดกัน
dnavaroj
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
Twatchai Tangutairuang
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวึϸ้อม
Sireetorn Buanak
วิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่นวิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปน๶ล่น
Jindarat JB'x Kataowwy
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
krupornpana55
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
juriporn chuchanakij
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
NU
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
Nang Ka Nangnarak
โครงงาȨาษาไทย
โครงงาȨาษาไทย โครงงาȨาษาไทย
โครงงาȨาษาไทย
ssuserd40879
การใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัย
การใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัยการใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัย
การใช้๶ทคโนโลยีสารสȨทศอย่างปลอึϸัย
Janchai Pokmoonphon
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of multiple intelligences)
Namchai
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
Kittayaporn Changpan
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
แผȨารสอȨานและพลังงาน
แผȨารสอȨานและพลังงานแผȨารสอȨานและพลังงาน
แผȨารสอȨานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing

Similar to ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์ (20)

ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
itedu355
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
New Born
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
ya035
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
yuiops
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
Wijitta DevilTeacher
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Sareenakache
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Saneetalateh
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Saneetalateh
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
azmah055
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
yasaka.747
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ai-sohyanya
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
tina009
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
maina052
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Ameena021
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
rohanee
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Ameena021
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
itedu355
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
New Born
Original thorndike
Original thorndikeOriginal thorndike
Original thorndike
ya035
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
yuiops
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
Wijitta DevilTeacher
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Sareenakache
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Saneetalateh
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Saneetalateh
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
azmah055
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
yasaka.747
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ai-sohyanya
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
tina009
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
maina052
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Ameena021
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
rohanee
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Ameena021

ทฤษฎีการ๶ชื่อมโยงของธอร์Ȩึϸ์