ݺߣ
Submit Search
ถอึϸทเรียน
Aug 19, 2011
Download as DOCX, PDF
0 likes
458 views
N
N'Mom Sirintip
ถอึϸทเรียน
Read more
1 of 12
Download now
Download to read offline
Recommended
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
N'Mom Sirintip
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
PN17
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
PN17
งาȨาจารย..
งาȨาจารย..
PN17
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
technologylandscape
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
งาȨ้าȨวาย
งาȨ้าȨวาย
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
ศิวกานต์ ไชยทอง 5219101328 ภูมิทัศน์
ถอึϸทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอึϸทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
นพประสิทธื์ สิงห์ประเสริฐ
We play art
We play art
เดอะมอลล์ ทีม
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
pawidchaya
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
pawidchaya
งาȨำเสนอ1
งาȨำเสนอ1
Yui Supawinee
ข้อมูล
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
PN17
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก ศิวา
moowhanza
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
บ้านจ๊างȨก,,,
บ้านจ๊างȨก,,,
moowhanza
ถอึϸทเรีย..
ถอึϸทเรีย..
pawidchaya
ถอึϸทเรีย..
ถอึϸทเรีย..
pawidchaya
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
PN17
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
Siwa Muanfu
นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
Doc3
Doc3
PN17
จางหȨก
จางหȨก
leam2531
บ้านจ๊างȨกและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างȨกและประวัติสล่าเพชร
PN17
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
หอย ลี่
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก1
บ้านจ๊างȨก1
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
Pond Pung
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
หอย ลี่
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
More Related Content
What's hot
(6)
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
ศิวกานต์ ไชยทอง 5219101328 ภูมิทัศน์
ถอึϸทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอึϸทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
นพประสิทธื์ สิงห์ประเสริฐ
We play art
We play art
เดอะมอลล์ ทีม
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
pawidchaya
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
pawidchaya
งาȨำเสนอ1
งาȨำเสนอ1
Yui Supawinee
ข้อมูล
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
ถอึϸทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
ถอึϸทเรียน นายนพประสิทธิ์ สิงห์ประเสริฐ-309
นพประสิทธื์ สิงห์ประเสริฐ
We play art
We play art
เดอะมอลล์ ทีม
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
pawidchaya
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก
pawidchaya
งาȨำเสนอ1
งาȨำเสนอ1
Yui Supawinee
Similar to ถอึϸทเรียน
(20)
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
PN17
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก ศิวา
moowhanza
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
บ้านจ๊างȨก,,,
บ้านจ๊างȨก,,,
moowhanza
ถอึϸทเรีย..
ถอึϸทเรีย..
pawidchaya
ถอึϸทเรีย..
ถอึϸทเรีย..
pawidchaya
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
PN17
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
Siwa Muanfu
นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
Doc3
Doc3
PN17
จางหȨก
จางหȨก
leam2531
บ้านจ๊างȨกและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างȨกและประวัติสล่าเพชร
PN17
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
หอย ลี่
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก1
บ้านจ๊างȨก1
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
Pond Pung
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
หอย ลี่
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
งาȨ้าȨวาย
งาȨ้าȨวาย
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
งาȨ้าȨวาย
งาȨ้าȨวาย
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
รวมศิลปินP
รวมศิลปินP
ร้านกาแฟ คาเฟ่ เดอ
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
PN17
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก ศิวา
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก ศิวา
moowhanza
ศิวกานต์ ไชยทอง
ศิวกานต์ ไชยทอง
Siwakarn Chaithong
บ้านจ๊างȨก,,,
บ้านจ๊างȨก,,,
moowhanza
ถอึϸทเรีย..
ถอึϸทเรีย..
pawidchaya
ถอึϸทเรีย..
ถอึϸทเรีย..
pawidchaya
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
PN17
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
พิพิธภัณฑ์ บ้านจ๊างȨก นายศิวา เหมือนฟู 5219101329
Siwa Muanfu
Doc3
Doc3
PN17
จางหȨก
จางหȨก
leam2531
บ้านจ๊างȨกและประวัติสล่าเพชร
บ้านจ๊างȨกและประวัติสล่าเพชร
PN17
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
ถอึϸทเรียน บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
หอย ลี่
บ้านจ๊างȨก1
บ้านจ๊างȨก1
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
บ้านจ๊างȨก
บ้านจ๊างȨก
Pond Pung
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างȨก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
หอย ลี่
ถอึϸทเรียน
ถอึϸทเรียน
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
งาȨ้าȨวาย
งาȨ้าȨวาย
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
งาȨ้าȨวาย
งาȨ้าȨวาย
พะวาวเด้อ บลูเบ้อชีส
รวมศิลปินP
รวมศิลปินP
ร้านกาแฟ คาเฟ่ เดอ
ถอึϸทเรียน
1.
ถอึϸทเรียน …….<br />บ้านจ๊างȨก
บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง……. <br />บ้างจ๊างนัก<br />ประวัติและผลงานของ สล่า เพชร วิริยะ<br /> <br />ศิลปินดีเด่นจังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2543สาขาทัศนศิลป์ ด้านประติมากรรม<br />สล่า เพชร วิริยะ เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2498 สถานที่เกิด บ้านบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของ นายสิงห์ วิริยะ และ นางบัวจีน วิริยะ มีพี่น้อง 5 คน คือ<br />2447925209551. นายเพชร วิริยะ<br />2. นายสุภาพ วิริยะ<br />3. นายเสน่ห์ วิริยะ<br />4. นายพิภัคร์ วิริยะ<br />5. นางเพลินจิต วิริยะ<br />ที่อยู่ \" บ้านจ๊างȨก\" <br />3905250426085บ้านเลขที่ 56/1 หมู่ที่ 2 ตำบลบวกค้าง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ <br />โทรศัพท์ (053) 3446891,01-4725051<br />ครอบครัว<br />3829050685800นายเพชร วิริยะ สมรสกับนางนงเยาว์ วิริยะ (นันไชยศิลป์) มีบุตรธิดาทั้งหมด 2 คน คือ<br />1. นางสาววารียา วิริยะ<br />2. นางสาวเวรุยา วิริยะ<br />การศึกษา<br />ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนผู้ใหญ่ 1 หอพระ จังหวัดเชียงใหม่ <br />การศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 4 (ม.ศ. 3) จากโรงเรียนผู้ใหญ่สันกำแพง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่<br />3905250238125ผลงานที่ผ่านมา<br />พ.ศ. 2515-2519 เรียนแกะสลักไม้กับครูอ้าย เดชดวงตา จากนั้นได้รับจ้างแกะสลักตามร้าน<br />พ.ศ. 2526 ได้รับราชการเป็นวิทยากรฝึกอบรมอาชีพแกะสลักไม้ประจำกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรุงเทพฯ 2 ปี จึงลาออกมาทำงานที่บ้าน<br />พ.ศ. 2530 ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องช้าง สามารถถ่ายทอดเป็นผลงานแกสะลักช้างได้หลายรูปแบบ กลายเป็นช่างฝีมือและประกอบอาชีพแกะสลักไม้จนถึงปัจจุบัน และได้ฝึกสอนเยาวชนในหมู่บ้าน แนวความคิด ภาคภูมิใจอ่างยิ่งที่ได้ทำงานที่รักและชอบ ถือเป็นหน้าที่ช่วงหนึ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรมครูคำอ้าย เดชดวงตา แล้วพัฒนาฝีมือและรูปแบงานและได้ถ่ายทอดสั่งสอนศิลปะวิชาช่างแจนงนี้ให้อยู่ยืนยาวต่อไป และช้าง คือความยิ่งใหญ่ในตำนาน เรื่องราว รูปแบบและตัวตน<br />3629025142875การแสดงงาน ร่วมแสดงงานศิลปะกับศิลปินกลุ่มลานนามาตลอด<br />ปี 2535 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างȨก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๑ ที่จังหวัดภูเก็ต<br />ปี 2536 ร่วมแสดงงานมหกรรมประติมากรรม 93 ร้อยปีศาสตราจารย์ ศิลป์ <br />พีระศรี ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้าฯ กรุงเทพฯ<br />3642995435610ปี 2537 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างȨก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๒ <br />ณ ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลเทพธารินทร์ กรุงเทพฯ<br />ปี 2541 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างȨก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๓<br />ณ ศูนย์การค้าโอเรียนเตลเพลส กรุงเทพฯ<br />ปี 2542 นำทีมงานกลุ่มสล่าบ้านจ๊างȨก จัดนิทรรศการคาราวานช้างไม้ ๔ <br />ณ โรงแรมรอยัลการ์เด้นรีสอร์ทพัทยา จังหวัดชลบุรี<br />ปี 2542 ร่วมนิทรรศการศิลปกรรมศิลปินภาคเหนือ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />ปี 2543 ร่วมแสดงนิทรรศการ ศิลปกรรมของศิลปินล้านนา “จิตวิญญาณล้านนา ๗ คนเมือง”<br />ปี 2543 คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ โดยสภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ มองโล่เชิดชูเกียรติ เป็นศิลปินดีเด่น จังหวัดเชียงใหม่ สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี 2543<br />ปี 2545 ร่วมแสดงนิทรรศการ “ต๋ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๑” ณ หอนิทรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />ปี 2545 นำทีมงานสล่า “บ้านจ๊างȨก” จัดนิทรรศการงานแกะสลักไม้ชุดคชธาตุ 4 ดิน น้ำ ลม ไฟ ณ Motion Hall ชั้น G ดิเอ็มโพเรียม ช็อปปิ้ง คอมเพล็กซ์ กรุงเทพฯ<br />ปี 2546 ร่วมแสดงงานนิทรรศการ “ต๊ามฮีตโตยฮอยสล่าเมือง ๒” ณ หอนิรรศการศิลปะวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />4171950122555\" ช้างไม้แกะสลักใหญ่ที่สุด\" ผลงานสล่า เพชร วิริยะ<br />สล่า เพชร วิริยะ มีโอกาสในการสร้างช้างไม้แกะสลักเท่าขนาดจริง จำนวน 4 เชือกเป็นช้างที่มีขนาดความสูง 2.00เมตร 2เชือก ช้างพลาย ขนาด 2.30 และ2.60 2เชือกและช้างไม้แกะสลักเป็นช้างเอราวัณ 3 เศียร ขนาด สูง 5.00 เมตร เชือกนี้<br />676275155575<br /> <br />4171950-485775ช้างไม้แกะสลักเชือกถูกสร้างขึ้นโดยใช้เวลาประมาณ 1ปีเศษแล้ว และคาดว่าจะใช้เวลาอักประมาณ 1 ปีจึงแล้วเสร็จ สล่าเพชร บอกเล่าถึงวิถีการทำงานอย่างคร่าวๆว่า ในขั้นแรกสล่า เพชร จะทำงานออกแบบช้างเอราวัณ ลงบนกระดาษเป็นงานในรูปแบบ งานร่างลายเส้นและทำการเขียนรูปด้านทั้งหมดก่อน (สังเกตุจากภาพวาดที่แขวนอยู่ข้างบนตัวช้างภาพขวาสุด)และจากขนาดที่สูงถึง 5เมตร จึงต้องทำโครงหลังคาเพื่อบังแดดฝนสำหรับช้างและสล่าโดยเฉพาะภายในของตัวช้างจะเป็นโครงสร้งไม้เนื้อแข็ง ตีโครงขึ้นมาตามรูปร่างของช้างปกคลุมด้านนอกทั้งหมดด้วยไม้ขี้เหล็ก ซึ่งเป็นไม้ที่สล่า เพชรชื่นชอบเพราะเป็นไม้ที่หาได้ตามท้องถิ่น มีเนื้อไม้ที่นำมาแกะสลักช้างได้ดีและมีสีดำน้ำตาลสวยงามทั้งยังนำไปย้อมสีมะเกลือได้ดีในขั้นตอนการเพาะไม้ภายนอกนั้นต้องใช้ความสามารถสูงพอควรเพราะไม้แต่ละชิ้นมีอายุและสภาพการยืดหดตัว แตกตัวต่างกัน จึงต้องใช้ความละเอียดเพื่อให้ได้ผิวที่กลมกลืนเป็นไม้ชิ้นเดียวกันและความพิเศษอีกหนึ่งอย่างคือช้างตัวนี้สามารถถอดประกอบได้ เพื่อนำไปติดตั้งยังที่หมายก่อนการเก็บงานในขั้นตอนการแกะสลักผิวหนังช้างนั้นไม่เป็นเรื่องยากมากสำหรับสล่าเพชร เพราะสล่าเพชรและกลุ่มสล่าบ้านจ๊างȨก มีความชำนาญและลึกซึ้งในพื้นผิว รายละเอียดของหนังช้างเป็นอย่างดี จากประสบการณ์การแกะสลักช้างนับ30ปี อีกขั้นตอนหนึ่งที่ต้องอาศัยความสามารถและพิถีพิถันคือ การทำสีตัวช้างเพื่อให้ได้มาซึ่งสีที่เหมือนจริงและสวยงาม ทั้งยังต้องเป็นด่านสุดท้ายในการปกปิดความแตกต่างของคุณลักษณะเนื้อสี ของไม้แต่ละชิ้นด้วย <br />………………………………………………………………………………………………………………..<br />บ้านถวาย<br />ที่ตั้งบ้านถวาย ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของตำบลขุนคง ระยะห่างจากที่ตั้งที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง ประมาณ 1 กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอำเภอหางดง ประมาณ กิโลเมตร หมู่ที่ 2 บ้านถวายตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ มีเขตติดต่อโดยรอบ ดังนี้ทิศเหนือ ติดต่อกับบ้านป่าหมาก หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านต้นแก้ว หมู่ที่ 1 ตำบลขุนคง อำเภอหางดง ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านกลาง หมู่ที 9 ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง ทิศตะวันตก ติดต่อกับบ้านหนองโขง หมู่ที่ 3 ตำบลขุนคง อำเภอหางดง<br />บ้านถวาย เป็นหมู่บ้านเก่าแก่ ตั้งมาประมาณ 100 กว่าปี สาเหตุที่ชื่อบ้านถวาย ตามคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ เล่าว่าบ้านถวาย ดั้งเดิมเป็นจุดถวายของให้พระนางเจ้าจามเทวีที่เสด็จผ่าน จากนครลำพูน ซึ่งเดินทางโดยทางเกวียนผ่านมาทางบ้านถวาย ชาวบ้านเมื่อทราบข่าวการจะเสด็จผ่านของพระนางฯ จึงพากันเตรียมข้าวของ หรือบางครอบครัวก็จะช่วยกันรีบตีเครื่องเงินเตรียมไว้ถวาย<br />บ้านถวายเป็นหมู่บ้านหนึ่ง ในตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ ประมาณ 18 กิโลเมตร แต่เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านการเกษตร แต่เมื่อประสบกับภาวะขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งทำให้ผลผลิตตกต่ำ ส่งผลให้ชาวบ้านมีรายได้น้อย ดังนั้นหลังฤดูเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่วนใหญ่จะเดินทางไปรับจ้างทำงานในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่น รับจ้าง ก่อสร้าง และอื่น ๆ แต่มีบางส่วนออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยู่ในท้องถิ่นของตัวเองจนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2500- 2505 พ่อใจ๋มา อิ่นแก้ว พ่อหนานแดง พันธุสา และพ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ทั้งสามท่านได้ไปรับจ้างอยู่ในตัวเมืองเชียงใหม่ เช่นเดียวกับชาวบ้านทั่วไป จนท่านได้ไปที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลายซึ่งเป็นร้านจำหน่ายไม้แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้น ทั้งสามท่านเกิดความสนใจในการรับจ้างแกะสลักไม้ จึงได้ขอทางร้านทดลองแกะดู ปรากฏว่าฝีมือพอทำได้ ทางร้านจึงให้เริ่มทำงานรับจ้างที่ร้านน้อมศิลป์ตั้งแต่นั้นมา การทำงานแกะสลักไม้ของทั้งสามท่านปรากฏว่ามีรายได้ดีกว่าการรับจ้างก่อสร้าง และทุกวันฝีมือการแกะสลักก็พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ท่านจึงเปลี่ยนอาชีพจากการับจ้างทั่วไปมาเป็นการรับจ้างแกะสลักไม้ที่ร้านดังกล่าว จนเมื่อเกิดความชำนาญ และเมื่อมีงานมากขึ้นทั้งสามท่านจึงได้ขอนำมาทำที่บ้าน และถือเป็นจุดเริ่มต้นของการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านโดยไม่รู้ตัวและไม่หวงความรู้แม้แต่น้อย งานที่นำมาถ่ายทอดครั้งแรก เป็นการแกะสลักไม้แผ่นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ลายครุฑ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาเริ่มทำเป็น ตัวพระ และรับซ่อมตกแต่งของเก่าประเภทงานไม้ และเริ่มเลียนแบบของเก่าที่มีผู้นำมาซ่อม พร้อมทั้งออกแบบงานที่เป็นเอกลักษณ์ของบ้านถวายเอง จากนั้นได้มีกลุ่มสตรีแม่บ้านของบ้านถวายเองซึ่งออกไปรับจ้างทำงานสี งานแอนติค และตกแต่งลวดลายเส้นที่ร้านในเมืองเชียงใหม่ ย่านวัวลาย และได้พัฒนาฝีมือ ทำลวดลาย ปิดทอง จนเกิดความชำนาญเช่นเดียวกัน เมื่อมีงานเพิ่มขึ้นทางร้านให้นำมาทำที่บ้านโดยคิดค่าจ้างทำเป็นชิ้น เมื่องานเสร็จก็นำไปส่งที่ร้าน ก็นับว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้นำมาถ่ายทอดในหมู่บ้าน และโอกาสในการพบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่งลูกค้าก็ได้ติดต่อโดยตรงและเข้ามาซื้อสินค้าถึงในหมู่บ้านจึงทำให้บ้านถวายเริ่มกลายเป็นแหล่งซื้อหาไม้แกะสลักและเกิดธุรกิจขึ้นในหมู่บ้าน ตั้งแต่นั้นมาแต่ละบ้านเริ่มจะปรับบริเวณบ้านของตนเอง โดยใช้บริเวณหน้าบ้านเป็นร้านค้า ส่วนหลังบ้านก็ทำงานหัตถกรรมแกะสลักไม้ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ ในครอบครัวตั้งแต่นั้นมา<br />3752850114300หัตถศิลป์ที่ขึ้นชื่อของบ้านถวาย <br />1.งานแกะสลักไม้<br /> เครื่องมือที่ใช้ในการแกะสลัก<br />1. สิ่ว เป็นเหล็กยาวทำจากเหล็กกล้า มีด้ามถือทำด้วยไม้ ส่วนมากทำจากไม้ตะโก ปลายมีดคม ซึ่งจะมีลักษณะรูปร่าง ขนาดที่แตกต่างกันไป เช่น สิ่วโค้ง สิ่วแบน สิ่วฮาย สิ่วเล็บมือ สิ่วขุด สิ่วฉาก และสิ่วขมวด<br />2. มีด เป็นอุปกรณ์ชิ้นแรกที่จะต้องใช้กับงานแกะสลักไม้ เช่น ใช้ถาก ใช้เหลา<br />3. หินลับ เป็นเครื่องมือแกะสลักที่ใช้ลับคมห้วยหินที่มีผิดขรุขระเพื่อให้เกิดความคม<br />4. ค้อน หรือ ตะลุมพลุก ทำจากไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้แดง ไม้ชิงชัน ค้อนไม้ที่ใช้จะมีน้ำหนักเบา ไม่กินแรงเวลาทุบ ควบคุมน้ำหนักของการทุบได้ และรักษาสภาพของสิ่งให้มีอายุการใช้งานที่นานขึ้น<br />35909255403855. เหล็กตอกลาย ใช้สำหรับตอกลายผิวไม้ให้เป็นลวดลายตามต้องการ ในการสร้างงานให้สวยงามหรือใช้ตอกส่วนที่เป็นพื้นภาพ<br />2.งานเทคนิคสีและเนื้อไม้ เป็นงานที่โชว์ให้เห็นถึงความสวยงามของเนื้อไม้ตามธรรมชาติ<br />3590925275590<br />3.งานเทคนิคสีแตกลายงา เป็นงานที่ตั้งใจให้สีเกิดการแตกแยกตัว เพื่อให้ดูคล้ายของเก่า โบราณ<br />บ้านเหมืองกุง<br />4286250128270ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของหมู่บ้าน<br />42862503025140428625054254405057775423481549307751844040 เป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลหนองควาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่จากรุ่นสู่รุ่นเล่าว่า บรรพบุรุษของตนเองที่มาตั้งรกรากปักฐานอยู่ ณ หมู่บ้านเหมืองกุงแห่งนี้เป็นคนเผ่าไท ซึ่งถูกกวาดต้อนมาจากเมืองปุ เมืองสาด ซึ่งหนีจากการถูกพวกพม่ารุกรานได้ไปอาศัยอยู่ที่แห่งนี้ ปัจจุบันอยู่ในเขตรัฐฉานของประเทศพม่า โดยอพยพมาเพียง 6 ครัวเรือน ( ปัจจุบันที่เมืองปุ เมืองสาดยังคงมีชาวบ้านที่มีวิถีชีวิตแบบชาวบ้านเหมืองกุงยังคงมีอยู่ ) จากคำบอกเล่าดังกล่าวได้สอดคล้องกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรต่าง ๆ เช่นตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ พงศาวดารโยนกและข้อมูลจากป๊บกระดาษสาต่างๆ กล่าวถึงการเกณฑ์กำลังคนจากพม่าและสิบสองปันนามาสู่อาณาจักรล้านช้างหลายครั้ง ถึงยุคฟื้นฟูเชียงใหม่หลังจากที่ตกอยู่ในอำนาจพม่า<br />เป็นเวลานานกว่า 2 ศตวรรษ ในปีระหว่าง พ.ศ. 2325 – 2356 สมัยพระเจ้ากาวิละแห่งต้นตระกูลเจ้าเจ็ดตนขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ ยุคนั้นเรียกว่ายุค ” เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง ” บรรพบุรุษของบ้านเหมืองกุงได้ถูกกวาดต้อนมาให้ตั้งรกราก ณ ที่ปัจจุบันแห่งนี่ร่วม 200 กว่าปี โดยให้ทำนาเพื่อนำผลผลิตคือ ข้าวเปลือกส่งให้แก่เจ้ากาวิโรรสสุริยวงค์ ( เจ้าชีวิตอ้าว )ซึ่งเป็นโอรสของพระเจ้ากาวิละบริเวณที่นาของเจ้าเมืองจะอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้านเหมืองกุงพอถึงฤดูเก็บเกี่ยว ชาวบ้านก็จะนำข้าวเปลือกบรรทุกล้อวัวเทียมเกวียนไปส่งที่คู้มเจ้าเมืองในตัวเมืองเชียงใหม่ หมดจากฤดูทำนาจากอาชีพที่ติดตัวมาคือ ช่างปั้น เช่น น้ำต้น ( คนโฑ ) หม้อน้ำ สำหรับไว้ใส่น้ำดื่มน้ำใช้หรือขายเป็นรายได้จุนเจือครอบครัวและใช้ในพุทธศาสนะพิธีเป็นสังฆทานถวายวัด เป็นวิถีชีวิตที่สืบต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน ( ข้อมูลจากการทำวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2527 – 2528 ) ปัจจุบันบ้านเหมืองกุงได้รับการจัดตั้งให้เป็นหมู่บ้านหัตถกรรม OTOP เพื่อการท่องเที่ยว เมื่อปี พ.ศ. 2538<br />4095750-504825 แจกันดินเผาเขียนลวดลาย ขนาด ( 50*50*60)ซ.ม. <br />ราคาขายปลีก 985 บาท<br />การใช้ในงานด้านภูมิทัศน์<br />ใช้ในการจัดสวน ว่างตามมุมต่าง ๆ ของสวนหรือบริเวณบ้าน เมื่อวางไว้ในบริเวณสวน ที่มีความชุ่มชื้น ก็จะเกิดมอญขึ้น ตามบริเวณรอบๆแจกัน ก็จะทำให้เกิดความสวยงามตามธรรมชาติอีกแบบหนึ่ง มีสีเขียวของมอญที่สวยงาม หรือจะจัดวางแจกัน ทำเป็นสวนแบบญี่ปุ่น สวนสไตด์โมเดิร์น เพราะแจกันมีรูปทรง ลวดลายที่สวยงาม<br />จัดทำโดย… นางสาวศิรินทิพย์ ฟูใจ 5419101007 สาขาเทคโนโลยีภูมิทัศน์ ( 2 ปี)<br />
Download