ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
โครงงานเรื่อง เห็ดของดีที่อยู่ในป่า เสนอ พ่อครู คเชนทร์ กองพิลา จัดทำโดย นางสาว อลิษา กลางวงษ์ เลขที่  38  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6/1 โรงเรียน ฝางวิทยายน
เห็ดของดีที่อยู่ในป่า บทบาทหน้าที่สำคัญของเห็ด การวางแผนการทำงาน ประโยชน์และโทษของเห็ด ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเรื่องเห็ดและวิเคราะห์ข้อมูล สภาพแวดล้อมที่เห็ดชอบเกิด Ȩ๶สนอโครงงาน
ประโยชน์และโทษของเห็ด สรรพคุณทางยา ช่วยควบคุมการทำงานของอวัยวะสำคัญต่างๆ เช่น สมอง หัวใจ ปอด ตับ และระบบไหลเวียนของโลหิต เนื่องจากชาวจีนจัดเห็ดเป็นยาเย็น เพราะมีสรรพคุณช่วยลดไข้ เพิ่มพลังชีวิต ดับร้อนใน แก้ช้ำใน บำรุงร่างกาย ลดระดับน้ำตาล และคอเลสเตอรอลในหลอดเลือด ลดความดัน ขับปัสสาวะ ช่วยให้หายหงุดหงิดบำรุงเซลล์ประสาท รักษาอาการอัลไซเมอร์ และที่สำคัญ คือ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง เห็ด นับเป็นผู้ย่อยสลายซากอีกชนิดหนึ่ง เมื่อต้นไม้ตายลง มีน้ำมีความชื้นพอเหมาะเห็ดทำหน้าที่ย่อยสลายไม่ว่าต้นไม้นั้นจะตายบางส่วนบนต้นไม้หรือตายแล้วล้มลงสู่พื้นดิน   ประมาณว่าถ้าโลกของเราไม่มีปลวก ไม่มีเห็ด รา มอส ไลเคน ผู้ย่อยสลายตามธรรมชาติมาถึงปัจจุบันโลกของเราคงเต็มไปด้วยซากพืช ซากสิ่งมีชีวิตจนล้นโลกแล้ว มนุษย์ควรคิดคำนึงถึงการแบ่งปันซึ่งกันและกัน แบ่งโลกให้กับทุกสรรพชีวิตได้อยู่อาศัยเพื่อสร้างสมดุลบนโลกของเรา   ประโยชน์ โทษ ชาวบ้านถือว่าเป็นเห็ดเมาจะเกิดเป็นพิษต่อเมื่อกินเห็ดแล้วดื่มเหล้าเข้าไป เพราะในเห็ดจำพวกนี้ มีสารจำพวก เตตระเอธิลไธยูแรมไดซัลไฟด์  ( tetraethylthiuram disulfide)   ซึ่งไปยังยั้งการเปลี่ยนแปลงของเหล้าในร่างกายเป็นเหตุให้เกิดการคั่งของสารพวกอะเซตาลดีฮัยด์  ( acetaldehyde)  แล้วเกิดอาการพิษ คือวิงเวียน ปวดศีรษะอย่างรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน แน่นหน้าอกหายใจลำบาก เห็ดพิษที่ทำให้เกิดอาการรุนแรงภายหลังกินเข้าไปแล้วประมาณ  8-24  ชั่วโมง เป็นเห็ดพิษที่มีอันตรายมาก อาจมีอาเจียน ท้องเดินอย่างรุนแรง เป็นเวลาหลายวัน ขณะเดียวกันอาจเกิดตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะไม่ออก ถ้าอาการรุนแรงมาก ก็ถึงตายได้   เห็ดพิษจำพวกที่ไม่ทำให้เกิดอาการรุนแรงนัก ทำให้เกิดประสาทหลอนภายหลังกินเข้าไป จะมีอาการอยู่  2-3  ชั่วโมง แล้วหายไปเอง ชาวเม็กซิกันบางพวกนิยมใช้ประกอบอาหารในงานฉลองเพื่อความรื่นเริงเห็ดที่พิษถูกทำลายโดยความร้อน พวกนี้ถ้าทำให้สุกดีก็กินได้ แต่ถ้ากินดิบๆอาจวิงเวียนเป็นลมซีดและปัสสาวะเป็นสีเลือด
บทบาทหน้าที่สำคัญของเห็ด เห็ด นับเป็นผู้ย่อยสลายซากอีกชนิดหนึ่ง เมื่อต้นไม้ตายลง มีน้ำมีความชื้นพอเหมาะเห็ดทำหน้าที่ย่อยสลายไม่ว่าต้นไม้นั้นจะตายบางส่วนบนต้นไม้หรือตายแล้วล้มลงสู่พื้นดินประมาณว่าถ้าโลกของเราไม่มีปลวก ไม่มีเห็ด รา มอส ไลเคน ผู้ย่อยสลายตามธรรมชาติมาถึงปัจจุบันโลกของเราคงเต็มไปด้วยซากพืช ซากสิ่งมีชีวิตจนล้นโลกแล้ว มนุษย์ควรคิดคำนึงถึงการแบ่งปันซึ่งกันและกัน แบ่งโลกให้กับทุกสรรพชีวิตได้อยู่อาศัยเพื่อสร้างสมดุลบนโลกของเรา เห็ดป่าเป็นเชื้อราชั้นสูงจำพวกหนึ่ง ซึ่งถือกำเนิดขึ้นมาในโลกนานกว่า  130  ล้านปีแล้ว แต่เห็ดมีวิวัฒนาการที่ล้ำหน้ากว่าเชื้อราทั่วไปมากจนมีขนาดใหญ่โตมองเห็นด้วยตาเปล่า และมีวงจรชีวิตซับซ้อน วงจรชีวิตของเห็ดเริ่มจากสปอร์  ( Spores)  อันเป็นส่วนสร้างเซลล์สืบพันธุ์ถูกพาหะ เช่น สายลม กระแสน้ำ หรือแมลง พาไปตกยังที่ซึ่งมีสภาวะเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต สปอร์ก็จะเริ่มงอกใยราและกลุ่มใยรา  ( mycelium)  พัฒนาไป เป็นกลุ่มก้อนจนกลายเป็นดอกเห็ดโผล่ขึ้นเหนือพื้นดิน บนต้นไม้ ขอนไม้ บนกองมูลสัตว์ หรือตามกองซากพืชชื้นๆ ที่ทับถมกันอย่างไรก็ตามเห็ดถูกจัดเป็นพืชชั้นต่ำ เนื่องจากพวกมันไม่มีคลอโรฟิลด์ไว้สังเคราะห์แสงสร้างอาหารเอง จึงต้องพึ่งพาอาหารและแร่ธาตุจากการสลายตัวของซากอินทรีย์ ในธรรมชาติ อันได้แก่พืชและสัตว์ที่ตายลงเห็ด จึงมีหน้าที่สำคัญเป็นผู้ย่อยสลาย  ( decomposer)  สิ่งเหล่านี้ให้ผุพังนำสารอาหารกลับคืนสู่ระบบนิเวศป่า หากปราศจากเห็ดแล้ว ปริมาณของเสียที่ตกค้างอยู่ในธรรมชาติก็คงมี อย่างมากมายมหาศาล เห็ดย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตอื่นได้ เพราะพวกมันมีเอนไซม์ที่สามารถย่อยสลายโครงสร้างสารอาหารซับซ้อน อย่างเซลลูโลสและลิกนินในเนื้อไม้ได้ ในโลกนี้มีเห็ดอยู่ไม่ต่ำกว่า  30,000  ชนิด ต่างมีสีสัน รูปทรง และขนาดผิดแผกกันไป เช่น เห็ดรูปถ้วย เห็ดร่างแห เห็ดปะการัง เห็ดโคน เห็ดขอนไม้ หรือเห็ดเรืองแสงเหล่านี้ คือเชื้อรามหัศจรรย์ที่มีคุณค่าอเนกอนันต์ต่อโลก
สภาพแวดล้อมที่เห็ดชอบเกิด สิ่งแวดล้อมโดยรอบเห็ดเป็นตัวการสำคัญมากในการทำให้เห็ดเจริญเติบโตได้ดี หรือไม่เพียงสิ่งแวดล้อมนี้ก็คือวัตถุที่ใช้เพาะ แร่ธาตุอาหาร ความเป็นกรดเป็นด่างของวัสดุเพาะ อาหาร อุณหภูมิ ความชื้น แสง แรงดึงดูดของโลก และสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆ ที่อยู่รอบข้างขึ้นอยู่กับความสามารถในการใช้อาหารของเห็ดชนิดนั้นๆ อาหารสำหรับเห็ด เห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืชแต่จะได้รับอาหารและพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์เท่านั้น  ความเป็นกรดเป็นด่าง  เห็ดชอบความเป็นกลาง  ( pH7)  หรือเป็นกรดเล็กน้อย อากาศ  เห็ดเป็นจุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจนค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาเกิดดอก อุณหภูมิ  อุณหภูมิที่เห็ดแต่ละชนิดใช้สำหรับการเจริญเติบโตด้านเส้นใย หรือการเกิดดอกเห็ดก็ตาม ขึ้นอยู่กับธรรมชาติดั้งเดิมของเห็ดชนิดนั้นๆ อย่างไรก็ตามโดยทั่วไป อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญของเส้นใยจะสูงกว่าอุณหภูมิที่เหมาะสำหรับการเกิดดอกอยู่เล็กน้อย ความชื้น  จุลินทรีย์ทั่วๆ ไปชอบความชื้นสูงๆ แต่เห็ดทนแล้งได้ ดีกว่าจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ   แสง  เห็ดหลายชนิดสามารถเจริญเติบโตทั้งระยะเส้นใยดอกโดยไม่ต้องการแสง แต่มีเห็ดอีกหลายชนิดที่แสงมีความจำเป็นต่อการพัฒนาดอกเห็ดที่สมบูรณ์  แรงดึงดูดของโลก  เห็ดพวกทรงร่ม มักจะเจริญในแนวต้านแรงดึงดูดของโลกไม่ว่าจะจับวางในตำแหน่งใด ส่วนเห็ดหิ้งจะเจริญออกในแนวขนานกับพื้นโลก   สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่แวดล้อมเห็ด  เห็ดจำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยรอบทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง เช่น อาจแย่งอาหารเห็ด ทางอ้อม เช่น มีจุลินทรีย์มากมายหลายชนิดที่ช่วยในการหมักปุ๋ยให้สลายตัวอยู่ในรูปที่เหมาะสมกับเห็ดที่จะนำไปใช้เป็นอาหารต่อไป
การวางแผนการทำงาน 1. คิดหัวข้อที่สนใจศึกษาและนำมาทำเป็นโครงงาน 4. นำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์และทำใบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ค้นคว้าหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน 3. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำโครงงาน
Ȩ๶สนอโครงงาน
Ad

More Related Content

What's hot (20)

๶ห็ึϸางฟ้า
๶ห็ึϸางฟ้า๶ห็ึϸางฟ้า
๶ห็ึϸางฟ้า
ACHRPMM
รายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้า
รายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้ารายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้า
รายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้า
chunkidtid
โครงงาȨปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยȨำ
โครงงาȨปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยȨำโครงงาȨปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยȨำ
โครงงาȨปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยȨำ
โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้วหนองอีย่า .
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
Wichai Likitponrak
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
Nattayaporn Dokbua
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
การเพาะเห็ึϸายในบ้าน
การเพาะเห็ึϸายในบ้านการเพาะเห็ึϸายในบ้าน
การเพาะเห็ึϸายในบ้าน
gamsh_
โครงงาȨบับสมบูรณ์
โครงงาȨบับสมบูรณ์โครงงาȨบับสมบูรณ์
โครงงาȨบับสมบูรณ์
paifahnutya
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
การดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิต
Kan Pan
๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
sornblog2u
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
Wichai Likitponrak
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
นราพร ผิวขำ
๶ห็ึϸางฟ้า
๶ห็ึϸางฟ้า๶ห็ึϸางฟ้า
๶ห็ึϸางฟ้า
ACHRPMM
รายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้า
รายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้ารายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้า
รายงานเรื่อง๶ห็ึϸางฟ้า
chunkidtid
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
Nattayaporn Dokbua
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
การเพาะเห็ึϸายในบ้าน
การเพาะเห็ึϸายในบ้านการเพาะเห็ึϸายในบ้าน
การเพาะเห็ึϸายในบ้าน
gamsh_
โครงงาȨบับสมบูรณ์
โครงงาȨบับสมบูรณ์โครงงาȨบับสมบูรณ์
โครงงาȨบับสมบูรณ์
paifahnutya
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ใȨำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
การดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ྺองสิ่งมีชีวิต
Kan Pan
๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
๶ทคȨคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
sornblog2u
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
นราพร ผิวขำ

Similar to ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2 (20)

สารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืช
สารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืชสารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืช
สารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืช
Anana Anana
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
Wichai Likitponrak
การสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืช
การสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืชการสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืช
การสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืช
dnavaroj
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
Wichai Likitponrak
หน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืช
varut
การศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพ
การศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพการศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพ
การศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพ
narongptt
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
Kunnanatya Pare
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
Akradech M.
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช
12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช
12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช
Wichai Likitponrak
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
Wichai Likitponrak
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
Wichai Likitponrak
สารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืช
สารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืชสารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืช
สารควบคุมการ๶จริญ๶ติบโตྺองพืช
Anana Anana
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Wichai Likitponrak
การสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืช
การสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืชการสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืช
การสืบพัȨุ์แบบอาศัย๶พศของพืช
dnavaroj
หน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัึϸัตรูพืช
varut
การศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพ
การศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพการศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพ
การศึกษาปัจจัยแวึϸ้อมทางกายภาพ
narongptt
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
Kunnanatya Pare
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช
12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช
12.การคายȨำและการแลกแก๊สลำ๶ลียงพืช
Wichai Likitponrak
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
sujitrapa
Ad

ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2

  • 1. โครงงานเรื่อง เห็ดของดีที่อยู่ในป่า เสนอ พ่อครู คเชนทร์ กองพิลา จัดทำโดย นางสาว อลิษา กลางวงษ์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียน ฝางวิทยายน
  • 2. เห็ดของดีที่อยู่ในป่า บทบาทหน้าที่สำคัญของเห็ด การวางแผนการทำงาน ประโยชน์และโทษของเห็ด ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเรื่องเห็ดและวิเคราะห์ข้อมูล สภาพแวดล้อมที่เห็ดชอบเกิด Ȩ๶สนอโครงงาน
  • 3. ประโยชน์และโทษของเห็ด สรรพคุณทางยา ช่วยควบคุมการทำงานของอวัยวะสำคัญต่างๆ เช่น สมอง หัวใจ ปอด ตับ และระบบไหลเวียนของโลหิต เนื่องจากชาวจีนจัดเห็ดเป็นยาเย็น เพราะมีสรรพคุณช่วยลดไข้ เพิ่มพลังชีวิต ดับร้อนใน แก้ช้ำใน บำรุงร่างกาย ลดระดับน้ำตาล และคอเลสเตอรอลในหลอดเลือด ลดความดัน ขับปัสสาวะ ช่วยให้หายหงุดหงิดบำรุงเซลล์ประสาท รักษาอาการอัลไซเมอร์ และที่สำคัญ คือ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง เห็ด นับเป็นผู้ย่อยสลายซากอีกชนิดหนึ่ง เมื่อต้นไม้ตายลง มีน้ำมีความชื้นพอเหมาะเห็ดทำหน้าที่ย่อยสลายไม่ว่าต้นไม้นั้นจะตายบางส่วนบนต้นไม้หรือตายแล้วล้มลงสู่พื้นดิน ประมาณว่าถ้าโลกของเราไม่มีปลวก ไม่มีเห็ด รา มอส ไลเคน ผู้ย่อยสลายตามธรรมชาติมาถึงปัจจุบันโลกของเราคงเต็มไปด้วยซากพืช ซากสิ่งมีชีวิตจนล้นโลกแล้ว มนุษย์ควรคิดคำนึงถึงการแบ่งปันซึ่งกันและกัน แบ่งโลกให้กับทุกสรรพชีวิตได้อยู่อาศัยเพื่อสร้างสมดุลบนโลกของเรา ประโยชน์ โทษ ชาวบ้านถือว่าเป็นเห็ดเมาจะเกิดเป็นพิษต่อเมื่อกินเห็ดแล้วดื่มเหล้าเข้าไป เพราะในเห็ดจำพวกนี้ มีสารจำพวก เตตระเอธิลไธยูแรมไดซัลไฟด์ ( tetraethylthiuram disulfide) ซึ่งไปยังยั้งการเปลี่ยนแปลงของเหล้าในร่างกายเป็นเหตุให้เกิดการคั่งของสารพวกอะเซตาลดีฮัยด์ ( acetaldehyde) แล้วเกิดอาการพิษ คือวิงเวียน ปวดศีรษะอย่างรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน แน่นหน้าอกหายใจลำบาก เห็ดพิษที่ทำให้เกิดอาการรุนแรงภายหลังกินเข้าไปแล้วประมาณ 8-24 ชั่วโมง เป็นเห็ดพิษที่มีอันตรายมาก อาจมีอาเจียน ท้องเดินอย่างรุนแรง เป็นเวลาหลายวัน ขณะเดียวกันอาจเกิดตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะไม่ออก ถ้าอาการรุนแรงมาก ก็ถึงตายได้ เห็ดพิษจำพวกที่ไม่ทำให้เกิดอาการรุนแรงนัก ทำให้เกิดประสาทหลอนภายหลังกินเข้าไป จะมีอาการอยู่ 2-3 ชั่วโมง แล้วหายไปเอง ชาวเม็กซิกันบางพวกนิยมใช้ประกอบอาหารในงานฉลองเพื่อความรื่นเริงเห็ดที่พิษถูกทำลายโดยความร้อน พวกนี้ถ้าทำให้สุกดีก็กินได้ แต่ถ้ากินดิบๆอาจวิงเวียนเป็นลมซีดและปัสสาวะเป็นสีเลือด
  • 4. บทบาทหน้าที่สำคัญของเห็ด เห็ด นับเป็นผู้ย่อยสลายซากอีกชนิดหนึ่ง เมื่อต้นไม้ตายลง มีน้ำมีความชื้นพอเหมาะเห็ดทำหน้าที่ย่อยสลายไม่ว่าต้นไม้นั้นจะตายบางส่วนบนต้นไม้หรือตายแล้วล้มลงสู่พื้นดินประมาณว่าถ้าโลกของเราไม่มีปลวก ไม่มีเห็ด รา มอส ไลเคน ผู้ย่อยสลายตามธรรมชาติมาถึงปัจจุบันโลกของเราคงเต็มไปด้วยซากพืช ซากสิ่งมีชีวิตจนล้นโลกแล้ว มนุษย์ควรคิดคำนึงถึงการแบ่งปันซึ่งกันและกัน แบ่งโลกให้กับทุกสรรพชีวิตได้อยู่อาศัยเพื่อสร้างสมดุลบนโลกของเรา เห็ดป่าเป็นเชื้อราชั้นสูงจำพวกหนึ่ง ซึ่งถือกำเนิดขึ้นมาในโลกนานกว่า 130 ล้านปีแล้ว แต่เห็ดมีวิวัฒนาการที่ล้ำหน้ากว่าเชื้อราทั่วไปมากจนมีขนาดใหญ่โตมองเห็นด้วยตาเปล่า และมีวงจรชีวิตซับซ้อน วงจรชีวิตของเห็ดเริ่มจากสปอร์ ( Spores) อันเป็นส่วนสร้างเซลล์สืบพันธุ์ถูกพาหะ เช่น สายลม กระแสน้ำ หรือแมลง พาไปตกยังที่ซึ่งมีสภาวะเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต สปอร์ก็จะเริ่มงอกใยราและกลุ่มใยรา ( mycelium) พัฒนาไป เป็นกลุ่มก้อนจนกลายเป็นดอกเห็ดโผล่ขึ้นเหนือพื้นดิน บนต้นไม้ ขอนไม้ บนกองมูลสัตว์ หรือตามกองซากพืชชื้นๆ ที่ทับถมกันอย่างไรก็ตามเห็ดถูกจัดเป็นพืชชั้นต่ำ เนื่องจากพวกมันไม่มีคลอโรฟิลด์ไว้สังเคราะห์แสงสร้างอาหารเอง จึงต้องพึ่งพาอาหารและแร่ธาตุจากการสลายตัวของซากอินทรีย์ ในธรรมชาติ อันได้แก่พืชและสัตว์ที่ตายลงเห็ด จึงมีหน้าที่สำคัญเป็นผู้ย่อยสลาย ( decomposer) สิ่งเหล่านี้ให้ผุพังนำสารอาหารกลับคืนสู่ระบบนิเวศป่า หากปราศจากเห็ดแล้ว ปริมาณของเสียที่ตกค้างอยู่ในธรรมชาติก็คงมี อย่างมากมายมหาศาล เห็ดย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตอื่นได้ เพราะพวกมันมีเอนไซม์ที่สามารถย่อยสลายโครงสร้างสารอาหารซับซ้อน อย่างเซลลูโลสและลิกนินในเนื้อไม้ได้ ในโลกนี้มีเห็ดอยู่ไม่ต่ำกว่า 30,000 ชนิด ต่างมีสีสัน รูปทรง และขนาดผิดแผกกันไป เช่น เห็ดรูปถ้วย เห็ดร่างแห เห็ดปะการัง เห็ดโคน เห็ดขอนไม้ หรือเห็ดเรืองแสงเหล่านี้ คือเชื้อรามหัศจรรย์ที่มีคุณค่าอเนกอนันต์ต่อโลก
  • 5. สภาพแวดล้อมที่เห็ดชอบเกิด สิ่งแวดล้อมโดยรอบเห็ดเป็นตัวการสำคัญมากในการทำให้เห็ดเจริญเติบโตได้ดี หรือไม่เพียงสิ่งแวดล้อมนี้ก็คือวัตถุที่ใช้เพาะ แร่ธาตุอาหาร ความเป็นกรดเป็นด่างของวัสดุเพาะ อาหาร อุณหภูมิ ความชื้น แสง แรงดึงดูดของโลก และสิ่งที่มีชีวิตอื่นๆ ที่อยู่รอบข้างขึ้นอยู่กับความสามารถในการใช้อาหารของเห็ดชนิดนั้นๆ อาหารสำหรับเห็ด เห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้เหมือนพืชแต่จะได้รับอาหารและพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์เท่านั้น ความเป็นกรดเป็นด่าง เห็ดชอบความเป็นกลาง ( pH7) หรือเป็นกรดเล็กน้อย อากาศ เห็ดเป็นจุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจนค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาเกิดดอก อุณหภูมิ อุณหภูมิที่เห็ดแต่ละชนิดใช้สำหรับการเจริญเติบโตด้านเส้นใย หรือการเกิดดอกเห็ดก็ตาม ขึ้นอยู่กับธรรมชาติดั้งเดิมของเห็ดชนิดนั้นๆ อย่างไรก็ตามโดยทั่วไป อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญของเส้นใยจะสูงกว่าอุณหภูมิที่เหมาะสำหรับการเกิดดอกอยู่เล็กน้อย ความชื้น จุลินทรีย์ทั่วๆ ไปชอบความชื้นสูงๆ แต่เห็ดทนแล้งได้ ดีกว่าจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ แสง เห็ดหลายชนิดสามารถเจริญเติบโตทั้งระยะเส้นใยดอกโดยไม่ต้องการแสง แต่มีเห็ดอีกหลายชนิดที่แสงมีความจำเป็นต่อการพัฒนาดอกเห็ดที่สมบูรณ์ แรงดึงดูดของโลก เห็ดพวกทรงร่ม มักจะเจริญในแนวต้านแรงดึงดูดของโลกไม่ว่าจะจับวางในตำแหน่งใด ส่วนเห็ดหิ้งจะเจริญออกในแนวขนานกับพื้นโลก สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่แวดล้อมเห็ด เห็ดจำเป็นต้องเกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดยรอบทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรง เช่น อาจแย่งอาหารเห็ด ทางอ้อม เช่น มีจุลินทรีย์มากมายหลายชนิดที่ช่วยในการหมักปุ๋ยให้สลายตัวอยู่ในรูปที่เหมาะสมกับเห็ดที่จะนำไปใช้เป็นอาหารต่อไป
  • 6. การวางแผนการทำงาน 1. คิดหัวข้อที่สนใจศึกษาและนำมาทำเป็นโครงงาน 4. นำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์และทำใบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ค้นคว้าหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน 3. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำโครงงาน