ݺߣ
Submit Search
Internet เบื้องต้น
0 likes
2,117 views
ครูสุวีร์ดา ริจนา
1 of 10
Download now
Downloaded 63 times
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
More Related Content
What's hot
(20)
PPT
การติดต่อสื่อสาร
Jha Jah
PPT
การติดต่อสื่อสารทางอินทอร์น_ต
Jha Jah
PDF
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
PDF
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อิȨทอร์Ȩต(แก้ไขแล้ว)
Prapatsorn Keawnoun
PDF
ระบบครือข่ายคอมพิวตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
PPT
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อิȨทอร์Ȩต
Papichaya Chengtong
DOC
Internet
Sutin Yotyavilai
PDF
การบริหารจัดการྺ้อมูลྺ่าวสารพื่อพิ่มประสิทธิภาพใȨารปฏิบัติงาน
Satapon Yosakonkun
PDF
07
alachiscake
PDF
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
PDF
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
krunuy5
PDF
อิȨทอร์Ȩต
dlled
PDF
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
PDF
20190409 social-media-backup
Boonlert Aroonpiboon
PDF
07
thebam29
PDF
07
Visarut Keatnima
PDF
07
thebam29
PDF
อิȨทอร์Ȩต
sawalee kongyuen
PDF
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
DOC
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
พงศธร ภักดี
การติดต่อสื่อสาร
Jha Jah
การติดต่อสื่อสารทางอินทอร์น_ต
Jha Jah
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อิȨทอร์Ȩต(แก้ไขแล้ว)
Prapatsorn Keawnoun
ระบบครือข่ายคอมพิวตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อิȨทอร์Ȩต
Papichaya Chengtong
Internet
Sutin Yotyavilai
การบริหารจัดการྺ้อมูลྺ่าวสารพื่อพิ่มประสิทธิภาพใȨารปฏิบัติงาน
Satapon Yosakonkun
07
alachiscake
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
krunuy5
อิȨทอร์Ȩต
dlled
New Technology for Information Services
Boonlert Aroonpiboon
20190409 social-media-backup
Boonlert Aroonpiboon
07
thebam29
07
Visarut Keatnima
07
thebam29
อิȨทอร์Ȩต
sawalee kongyuen
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
พงศธร ภักดี
Similar to Internet เบื้องต้น
(20)
PPT
อิȨทอร์Ȩตเพื่องานเลขานุการ
Prapaporn Boonplord
PDF
อิȨทอร์Ȩต
Sarocha Makranit
PDF
Internet 2000
Rachabodin Suwannakanthi
PDF
บริการและประโยชน์ของอิȨทอร์Ȩต
burin rujjanapan
PDF
Ch02
burin rujjanapan
PPT
เรื่อง อิȨทอร์Ȩต
stampqn
PDF
Internet 13
paween
PDF
รายงานอิȨทอร์Ȩต
Sarocha Makranit
PDF
อิȨทอร์Ȩต5.1
Pp'dan Phuengkun
PDF
ความรู้เบื้องต้นอิȨตอร์Ȩต
เขมิกา กุลาศรี
PDF
Lernning 05
Mayuree Janpakwaen
PPT
Internet
Jintana Pandoung
PDF
บทที่3เรื่องอิȨทอร์Ȩตและการใช้งาน
Piyanoot Ch
PDF
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอิȨทอร์Ȩต
Meaw Sukee
PDF
3.3 การใช้อิȨทอร์Ȩตให้ปลอดภัย
Meaw Sukee
PPT
อิȨทอร์Ȩต
สราวุฒิ จบศรี
PDF
อิȨทอร์Ȩต
Pp'dan Phuengkun
PDF
อิȨตอร์Ȩต
Fon Kittiya
PDF
การค้นหาข้อมูลจากอิȨทอร์Ȩต
PangMy
PDF
ความรู้เบื้องต้นอิȨตอร์Ȩต2
เขมิกา กุลาศรี
อิȨทอร์Ȩตเพื่องานเลขานุการ
Prapaporn Boonplord
อิȨทอร์Ȩต
Sarocha Makranit
Internet 2000
Rachabodin Suwannakanthi
บริการและประโยชน์ของอิȨทอร์Ȩต
burin rujjanapan
Ch02
burin rujjanapan
เรื่อง อิȨทอร์Ȩต
stampqn
Internet 13
paween
รายงานอิȨทอร์Ȩต
Sarocha Makranit
อิȨทอร์Ȩต5.1
Pp'dan Phuengkun
ความรู้เบื้องต้นอิȨตอร์Ȩต
เขมิกา กุลาศรี
Lernning 05
Mayuree Janpakwaen
Internet
Jintana Pandoung
บทที่3เรื่องอิȨทอร์Ȩตและการใช้งาน
Piyanoot Ch
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอิȨทอร์Ȩต
Meaw Sukee
3.3 การใช้อิȨทอร์Ȩตให้ปลอดภัย
Meaw Sukee
อิȨทอร์Ȩต
สราวุฒิ จบศรี
อิȨทอร์Ȩต
Pp'dan Phuengkun
อิȨตอร์Ȩต
Fon Kittiya
การค้นหาข้อมูลจากอิȨทอร์Ȩต
PangMy
ความรู้เบื้องต้นอิȨตอร์Ȩต2
เขมิกา กุลาศรี
Ad
More from ครูสุวีร์ดา ริจนา
(20)
PDF
รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลȨ
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
บทคัดย่อ บุษยา พรหมศร
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
แผ่นพับ สรภัญญะ
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
แผ่นพับ มัคนายก 2
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
แผ่นพับ มัคนายก 1
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
ฉลยྺ้อสอบGճʴճ2554
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
บทที่ 4 เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
บทที่ 3 เริ่มใช้งานโปรแกรม
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
บทที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม dreamweaver mx
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
คู่มือ Google docs
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
คู่มือ Twitter
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
คู่มือการใช้ Picasa
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
การใช้ Wordpress
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
การใช้ Youtube
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
1พื้นฐาȨารสร้างเว็บ
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
Photoscape
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PDF
Facebook
ครูสุวีร์ดา ริจนา
PPT
Computerbasic
ครูสุวีร์ดา ริจนา
รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลȨ
ครูสุวีร์ดา ริจนา
บทคัดย่อ บุษยา พรหมศร
ครูสุวีร์ดา ริจนา
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
ครูสุวีร์ดา ริจนา
แผ่นพับ สรภัญญะ
ครูสุวีร์ดา ริจนา
แผ่นพับ มัคนายก 2
ครูสุวีร์ดา ริจนา
แผ่นพับ มัคนายก 1
ครูสุวีร์ดา ริจนา
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
ครูสุวีร์ดา ริจนา
ฉลยྺ้อสอบGճʴճ2554
ครูสุวีร์ดา ริจนา
บทที่ 4 เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
ครูสุวีร์ดา ริจนา
บทที่ 3 เริ่มใช้งานโปรแกรม
ครูสุวีร์ดา ริจนา
บทที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม dreamweaver mx
ครูสุวีร์ดา ริจนา
คู่มือ Google docs
ครูสุวีร์ดา ริจนา
คู่มือ Twitter
ครูสุวีร์ดา ริจนา
คู่มือการใช้ Picasa
ครูสุวีร์ดา ริจนา
การใช้ Wordpress
ครูสุวีร์ดา ริจนา
การใช้ Youtube
ครูสุวีร์ดา ริจนา
1พื้นฐาȨารสร้างเว็บ
ครูสุวีร์ดา ริจนา
Photoscape
ครูสุวีร์ดา ริจนา
Facebook
ครูสุวีร์ดา ริจนา
Computerbasic
ครูสุวีร์ดา ริจนา
Ad
Internet เบื้องต้น
1.
ห น า
| 100 การใชงานอินเทอรเน็ตเบืองตน ้ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต คือ เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญที่เชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอรทั่วโลกเขาดวยกัน ผูใชอินเทอรเน็ตสามารถสื่อสารถึงกันได ภายในเวลาอันรวดเร็ว ชวยประหยัดทรัพยากรและที่สาคัญอินเทอรเน็ต ํ คือคลังสมองอันยิ่งใหญหรือหองสมุดโลกที่ทุกคนสามารถคนควาหาความรูขอมูล ขาวสารไดโดยไมตองเดินทาง ไปยังแหลงความรูนั้น ความเปนมาของอินเทอรเน็ต คอมพิวเตอรแตละระบบสวนใหญจะแยกทํางานกันโดยอิสระมีเพียงระบบคอมพิวเตอรที่ตั้งอยูใกลกน ั เทานั้นที่สามารถสื่อสารกันดวยความเร็วต่า จากปญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอร ํ และความตองการในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกัน จึงทําใหเกิดโครงการอารพาเน็ต (ARPANET) โครงการอารพาเน็ตอยูในความควบคุมดูแลของอารพา (Advanced Research Projects Agency หรือ ARPA) ซึ่งเปนหนวยงานยอย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อารพาทําหนาที่สนับสนุนงานวิจย ั พื้นฐานทั้งทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยใหทุนสนับสนุน แกหนวยงานอื่น ๆ เชน มหาวิทยาลัย และ บริษัทเอกชนที่ทําการวิจยและพัฒนา ในป พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ั โครงการอารพาเน็ต ไดริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรระหวางสถาบัน 4 แหง คือ มหาวิทยาลัย แคลิฟอรเนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซานตา บารบารา มหาวิทยาลัยยูทาห และสถาบันวิจย ั สแตนฟอรด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรจากสถาบันทั้ง 4 แหงนี้เปนเครื่องคอมพิวเตอร ตางชนิดกันและใช ระบบปฏิบัติการ ที่แตกตางกัน ตอมาเครือขายอารพาเน็ตไดรับความนิยมอยางมาก มหาวิทยาลัย หนวยงานของรัฐและเอกชนตาง ๆ ใน สหรัฐอเมริกาไดเขารวมเชื่อมตอกับเครือขายนี้เพื่อประโยชนในการศึกษาและวิจย ในประเทศไทยไดตดตอกับ ั ิ อินเทอรเน็ตในลักษณะของการใชบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โดยในป พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขลา นครินทร วิทยาเขตหาดใหญ และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียไดติดตอขอใชบริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส โดย ความรวมมือระหวางไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใชสายโทรศัพท เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
2.
ห น า
| 101 ตอมาในป พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดจัดตั้งเครือขายเพื่อเชือมโยงเขากับเครือขายยูยูเน็ต ่ (UUNET) ของบริษัทยูยเู น็ตเทคโนโลยี จํากัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยูที่รัฐเวอรจเิ นีย ประเทศ สหรัฐอเมริกาและในปเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแหง เชนสถาบัน เทคโนโลยีแหงเอเชีย มหาวิทยาลัย มหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง และ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไดขอเชื่อมตอเขากับเครือขายจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรียกเครือขายนี้วา เครือขายไทย เน็ต (THAINET) ซึ่งในปจจุบันเครือขายไทยเน็ต ประกอบดวยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สํานักวิทยาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในปเดียวศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรือ NECTEC) ไดจัดตั้งเครือขายไทยสารซึ่งตอมาไดตอกับเครือขายของยูยเู น็ต และใน ปจจุบันไทยสารไดเชื่อมโยงกับสถาบันตาง ๆการเชื่อมตอเขาระบบอินเทอรเน็ตการเชื่อมตอเพื่อใชระบบ อินเทอรเน็ตโดยทัวไปแลวหนวยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทังของรัฐและเอกชนจะใหบริการแกผูใช ผูใช ่ ้ ยังสามารถเชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ต โดยใชบริการขององคกรที่เรียกวาผูใชบริการอินเทอรเน็ต Internet service provider (ISP) ซึ่งปจจุบันในประเทศไทยมีจํานวน 18 ราย (ขอมูลปจจุบันศึกษาไดจาก http://ntl.nectec.or.th/internet/index/html) เวิลดไวดเว็บ (World wide web หรือ www) ผูใชสามารถเชื่อมโยงเอกสารหนึ่งไปยังอีกเอกสารหนึ่งที่อยูใน คอมพิวเตอรเครื่องเดียวกันหรือตาง เครื่องกันที่อยูคนละประเทศไดอยางรวดเร็ว เครือขายของเอกสารเหลานี้ประกอบกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ใน การนําเสนอขอมูลนี้บนอินเทอรเน็ตรูจักโดยทัวไปวา World Wide Web (www) หรือ W3 หรือ Web และเครื่อง ่ คอมพิวเตอรทใหบริการเว็บเพจเรียกวาเว็บไซต (Web Site) ี่ เว็บเพจ (Web Pages) คือ เอกสารที่เปนไฮเปอรเท็กส หรือไฮเปอรมีเดียซึ่งไฮเปอรมีเดียเปนสื่อประสม ตาง ๆ ที่ใชในการเชื่อมโยงขอมูล อาจอยูในรูปของขอความ ภาพกราฟฟก ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง การสรางเว็บเพจสามารถใชภาษา Hypertext Markup Language หรือ HTML ซึ่งประกอบดวยชุดของ คําสั่งที่เรียกวาแท็ก หรือมารกอัป เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
3.
ห น า
| 102 Web Browser Web Browser หรือมักนิยมเรียกกันวา Browser คือโปรแกรมที่ใชสําหรับเปนประตูเปดเขาสู โลก WWW (World Wide Web) หรือพูดกันอยางงายก็คือโปรแกรมที่ใชสําหรับเลนอินเทอรเน็ต ที่เรานิยมใช กันอยูทกวันนีโดยเว็บเบราวเซอร (Web Browser) จะเขาใจในภาษา HTML นี้คือเหตุผลวาทําไมตองใชภาษา ุ ้ HTML ในการสรางเว็บเพจ เพราะโปรแกรมเว็บเบราวเซอรนั่นสามารถเขาใจ และสามารถทํางานตามคําสั่งของ ภาษา HTMLได โปรแกรมเว็บเบราวเซอรที่นิยมใช ในปจจุบัน มีหลายโปรแกรม เชน โปรแกรม Firefox , โปรแกรม Internet Explorer หรือโปรแกรม Netscape Comunicator แตสวนมากนิยมใช โปรแกรม Internet Explorer หรือเรียกยอ ๆ วา IE เพราะเปนโปรแกรมที่มีมาพรอมกับการติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวสอยูแลว ไม ตองไปหาโปรแกรมเพิ่มเติม โปรแกรม Internet Explorer เรียกยอๆ วา IE เปนโปรแกรมเบราเซอรที่ใชในการเปดเว็บเพจใน อินเทอรเน็ต ซึ่งเปน Application Software ที่ผลิตโดยบริษัท Microsoft สวนประกอบที่สําคัญของโปรแกรม Internet Explorer มีดังนี้ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
4.
ห น า
| 103 แถบชื่อ (Title Bar) แสดงชื่อเว็บไซตที่โปรแกรมกําลังเปดอยู เมนู (Menu Bar) เปนที่รวบรวมคําสั่งการใชงานของ Internet Explorer ทั้งหมด แถบเครื่องมือ (Toolbar) เปนแถบที่แสดงคําสั่งพื้นฐานทั่วไป แถบเครื่องมือแอดเดรส (Address toolbar) ใชเปนแถบที่มีชองเพื่อรับการกรอกแอดเดรสของเว็บเพจที่ จะเปด สัญลักษณเคลื่อนไหว ใชแสดงวาขณะนีกําลังโหลดเว็บเพจอยู (ภาพเคลื่อนไหว) หรือวาโหลดสมบูรณ ้ (ภาพนิ่ง) และที่มุมลางดานซาย จะปรากฏคําวา Done แถบสถานะ (Status bar) ใชแสดงขอมูลตางๆ เชนความคืบหนาในการโหลดเว็บเพจแอดเดรสของลิงคที่ เราเลื่อนเมาสไปชี้ และความปลอดภัยของเว็บไซตนี้เปนตน ชอง Address เปนชองสําหรับพิมพ URL ซึ่งเปนตําแหนงที่อยูในเอกสารเว็บที่ปรากฏในรูปแบบ <protocol>://<domain name> ตัวอยางเชน http://www.kku.ac.th Search Engine เสิรชเอนจิน (search engine) คือ โปรแกรมที่ชวยในการสืบคนหาขอมูล โดยเฉพาะขอมูลบนอินเทอรเน็ต โดยครอบคลุมทั้งขอความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟตแวร แผนที่ ขอมูลบุคคล กลุมขาว และอืน ๆ ซึ่ง ่ ตกตางกันไปแลวแตโปรแกรมหรือผูใหบริการแตละราย. เสิรชเอนจินสวนใหญจะคนหาขอมูลจากคําสําคัญ (คียเวิรด) ทีผูใชปอนเขาไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธที่มันคิดวาผูใชนาจะตองการขึ้นมา ในปจจุบน ่ ั เสิรชเอนจินบางตัว เชน กูเกิล จะบันทึกประวัตการคนหาและการเลือกผลลัพธของผูใชไวดวย และจะนําประวัติ ิ ที่บันทึกไวนั้น มาชวยกรองผลลัพธในการคนหาครั้งตอ ๆ ไป สัดสวนของผูใชในสหรัฐอเมริกา 1. กูเกิล (Google) 36.9% 2. ยาฮูเสิรช (Yahoo! Search) 30.4% 3. เอ็มเอสเอ็นเสิรช (MSN Search) 15.7% เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
5.
ห น า
| 104 E-Mail (Electronic Mail) E-Mail (Electronic Mail) จดหมายอิเลคทรอนิกส คืออะไร คือจดหมายอิเลคทรอนิกส ที่ใชรับสงกันโดยผานเครือขายคอมพิวเตอรบางแหงใชเฉพาะภายใน บางแหง ใชเฉพาะภายนอกองคกร (สําหรับเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกคือ internet) การใชงานก็ เหมือนกับเราพิมพขอความในโปรแกรม word จากนันก็คลิกคําสั่ง เพื่อสงออกไป โดยจะมีช่อของผูรับ ซึ่งเรา ้ ื เรียกวา Email Address เปนหลักในการรับสง รูปแบบชื่อ Email Address yourname@it-guides.com 1. yourname คือ ชื่อของคุณ สามารถตั้งเปนชื่ออะไรก็ได 2. เครื่องหมาย "@" สําหรับกั้นระหวาง ชือ กับ ชื่อเวปไซท หรือ domain name ่ 3. it-guides.com คือ ชื่อเวปไซท หรือ domain name ชนิดของการรับสง E-mail 1. รับสงโดยใชโปรแกรม Email โดยเฉพาะ เชน Outlook Express, Eudora 2. รับสงโดยผาน Web site เชน www.yahoo.com, www.hotmail.com 3. รับสงโดยผาน Web Browser เชน Netscape, IE เปนตน Web site ที่ใหบริการ Email ฟรี ไดแก 1. www.yahoo.com 2. www.hotmail.com 3. www.thaimail.com 4. www.mweb.co.th 5. www.gmail.com เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
6.
ห น า
| 105 ขั้นตอนการสมัครใช g - mail 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน บนหนาจอคอมพิวเตอร 2. พิมพช่อเว็บ www.gmail.com ลงในชอง Address แลวกดปุม Enter บนคียบอรด ดังภาพ ื เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
7.
ห น า
| 106 3. เสร็จแลวจะเขาสูหนาเว็บ Gmail คลิกที่ปุม ดังภาพ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
8.
ห น า
| 107 4. หลังจากนันจะเขาสูหนาใหกรอกขอมูล ดังภาพ ้ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
9.
ห น า
| 108 5. เสร็จแลวก็จะเขาสูหนาหลัก และเมื่อเราจะสงเมลใหคนอื่น ใหคลิกที่ปุม เขียนขอความ ดังภาพ 6. ก็จะเขาสูหนาใหเรากรอกขอมูล ถึง… หัวเรื่อง… แนบไฟล… เมื่อกรอกขอมูลทุกอยางครบแลวใหคลิกทีปุม สง ดังภาพ ่ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
10.
ห น า
| 109 7. เสร็จแลวก็จะกลับมาสูหนาหลัก และจะมีขอความขึนมาบอก ขอความของคุณถูกสงแลว ดังภาพ ้ การดาวนโหลด (Download) หมายถึง การดึงขอมูลจากคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งซึ่งเปนตนทาง มาเก็บไวยังเครื่องของเรา โดยผานเครือขายคอมพิวเตอร การอัพโหลด (Upload) หมายถึง การนําขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรทใชอยูไปเก็บไวยังเครื่อง ี่ คอมพิวเตอรอกเครื่องที่ปลายทาง โดยผานเครือขายคอมพิวเตอรเรียกไดวาตรงกันขามกับดาวน ี โหลด เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
Download