ݺߣ

ݺߣShare a Scribd company logo
ครูปิยะดนัย วิเคียน
โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม
สภาพเสมือนจริง เป็นการใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ
จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่าไซเบอรฺ์สเปช
(cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การชื้อสินค้าและบริการ การ
ทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual) เช่น
เกมเสมื อ นจริง ห้ องเรี ยนเสมื อ นจริงซึ่ งท าให้ล ดเวลาในการเดิ นทางและ
สามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
        ส าหรั บ เกมเสมื อ นจริ ง อาจสร้ า งปั ญ หาให้ กั บ ผู้ ใ ช้ ที่ ไ ม่ ส ามารถ
แยกแยะระหว่างเกมหรือชีวิตจริงอาจใช้ความรุนแรงเลียนแบบกมและเกิด
ปัญหาอาชญากรรมตามที่เป็นข่าวในสังคมปัจจุบัน
การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-cash) การใช้
เงินตราจะ                เริ่มเปลี่ยนรูปแบบเป็นการใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์มาก
ขึ้น                     ทาให้พกเงินสดน้อยลงเพิ่มความสะดวกในการซื้อ
                         สินค้าและบริการต่างๆด้วยบัตรที่มีลักษณะเป็นบัตร
                         สมาร์ตหรือสมาร์ตการ์ด (smart card) ซึ่งบัตรใบ
                         เดียวสามารถใช้ได้กับธุรกรรมหลายประเภท ตั้งแต่
เป็นบัตรประชาชน ใบอนุญาตขับขี่ บัตรประจาตัวพนักงานหรือบัตรประจาตัว
นักเรียน นักศึกษา บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต ตลอดจนบัตรสมาชิกห้างสรรสินค้า
ร้านค้า และร้านอาหารต่าง ๆ
เนื่องจากพฤติกรรมการใช้เงินที่ เปลี่ ยนแปลงไปดังกล่าวข้อมูลส่วน
บุคคลจะถูกจัดเก็บไว้ในระบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นอาจมีผู้ประสงค์ร้ายลักลอบ
นาข้อมูล เช่น ชื่อ-นามสกุลเลขที่บัตรประจาตัวประชาชน เบอร์โทรศัพท์ และ
รหัสที่ใช้ในการถอนเงินซึ่งเป็นข้อมูลส่วนบุคคลมาใช้ในทางที่ผิด เช่นลักลอบ
เข้าสู่ระบบฐานข้อมูลบัญชีเงินฝากของธนาคารเพื่อโอนเงินเข้าบัญชีตนเองการ
โทรศัพท์มาแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากรหลอกให้ทาการโอนเงิน
จากบัญชีออกไปให้โดยบอกว่าจะทาการคืนเงินภาษีทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
บริการนาเสนอแบบตามคาขอหรือออนดีมานด์ (on demand) เป็น
การเข้าถึงข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา เช่น การเลือกชม
รายการโทรทัศน์ หรือฟังรายการวิทยุ ตามตารางที่ทางสถานีกาหนดไว้
ล่วงหน้า
การศึกษาออนดีมานด์(education on
demand) เป็ น การเปิ ด เว็ บ ไซต์ ข อง
สถาบั น การศึ ก ษา ณ ที่ ใ ด เวลาใดก็
ได้ แล้วเลือกวิชาเรียน บทเรี ยนได้ ซึ่ ง
เป็นลักษณะหนึ่งของอีเลิร์นนิง
(e-Learning)
การได้รับเทคโนโลยีมากเกินไป (technology overload) การพัฒนา
ของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว โดยมีรูปแบบที่หลากหลายทา
ให้น่าสนใจ และสะดวกในการเข้าถึง สิ่งเหล่านี้เป็นแรงดึงดูดให้บุคคลเกิด
ความลุ่มหลงจนเกิดเป็นอาการติดเทคโนโลยี
เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารส่ ง ผลให้ เ กิ ด สั ง คม
โลกาภิวัฒน์ (globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่ส่ง
กระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้
ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่
เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแส
การหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบ
เศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
ความ๶ปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสȨทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติ
และสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น ระบบป้ อ งกั น การกั ด เซาะชายฝั่ ง โดยใช้ ภ าพถ่ า ย
ดาวเที ย ม หรื อ ภาพถ่ า ยทางอากาศร่ ว มกั บ การจั ด เก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล
ระดั บ น้ าทะเล ความสู ง ของคลื่ น จากระบบเรดาร์ เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ หา
สาเหตุ และน าข้ อ มู ล มาวางแผนและสร้ า งระบบเพื่ อ ป้ อ งกั น การกั ด เซาะ
ชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
          นอกจากนี้ในรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม (hybrid engine)
เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมก็ต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อการควบคุมให้เครื่องยนต์ลดการ
เผาไหม้ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง เป็ น การช่ ว ยลดมลภาวะจากก๊ า ซไนโตรเจน
ออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ที่ทาให้เกิดภาวะ
โลกร้อน
ความ๶ปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสȨทศและการสื่อสาร
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์
เครื่องพิมพ์ ที่เสียหรือไม่ใช้งานแล้ว รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ถูก
ทิ้งเป็นขยะ ซึ่งต่างจากขยะทั่วไป โดยในขยะอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นหนึ่งๆ มี
ส่วนประกอบที่เป็นโลหะและพลาสติก รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ประกอบกันอย่าง
ซับซ้อน ยากต่อการแยกออกมา โดยเฉพาะในแผงวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ มี
รายงานพบว่ าขยะเหล่ า นี้ น อกจากจะมี ป ริ มาณเพิ่ มขึ้ น มากอย่ า งรวดเร็ ว
แล้ว ยังปลดปล่อยสารพิษปะปนเข้าสู่สิ่งแวดล้อม การจะแยกชิ้นส่วนขยะ
อิเล็กทรอนิกส์แล้วนากลับมาหลอมใช้ใหม่              หรือรีไซเคิล จึงทาได้ยาก
มากกว่าขยะทั่วไป เพราะต้องมีขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงต้องมีการศึกษา
อย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญและต้องจัดการอย่างมีระบบ ดังนั้นจึงควรใช้
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้คุ้มค่า         จะซื้อใหม่เมื่ออุปกรณ์นั้นไม่สามารถ
ซ่อมแซมได้แล้ว และไม่เปลี่ยนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บ่อยๆ ตามกระแสนิยม
ความ๶ปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสȨทศและการสื่อสาร

More Related Content

ความ๶ปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสȨทศและการสื่อสาร

  • 2. สภาพเสมือนจริง เป็นการใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่าไซเบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การชื้อสินค้าและบริการ การ ทางานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมื อ นจริง ห้ องเรี ยนเสมื อ นจริงซึ่ งท าให้ล ดเวลาในการเดิ นทางและ สามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา ส าหรั บ เกมเสมื อ นจริ ง อาจสร้ า งปั ญ หาให้ กั บ ผู้ ใ ช้ ที่ ไ ม่ ส ามารถ แยกแยะระหว่างเกมหรือชีวิตจริงอาจใช้ความรุนแรงเลียนแบบกมและเกิด ปัญหาอาชญากรรมตามที่เป็นข่าวในสังคมปัจจุบัน
  • 3. การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-cash) การใช้ เงินตราจะ เริ่มเปลี่ยนรูปแบบเป็นการใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์มาก ขึ้น ทาให้พกเงินสดน้อยลงเพิ่มความสะดวกในการซื้อ สินค้าและบริการต่างๆด้วยบัตรที่มีลักษณะเป็นบัตร สมาร์ตหรือสมาร์ตการ์ด (smart card) ซึ่งบัตรใบ เดียวสามารถใช้ได้กับธุรกรรมหลายประเภท ตั้งแต่ เป็นบัตรประชาชน ใบอนุญาตขับขี่ บัตรประจาตัวพนักงานหรือบัตรประจาตัว นักเรียน นักศึกษา บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต ตลอดจนบัตรสมาชิกห้างสรรสินค้า ร้านค้า และร้านอาหารต่าง ๆ
  • 4. เนื่องจากพฤติกรรมการใช้เงินที่ เปลี่ ยนแปลงไปดังกล่าวข้อมูลส่วน บุคคลจะถูกจัดเก็บไว้ในระบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นอาจมีผู้ประสงค์ร้ายลักลอบ นาข้อมูล เช่น ชื่อ-นามสกุลเลขที่บัตรประจาตัวประชาชน เบอร์โทรศัพท์ และ รหัสที่ใช้ในการถอนเงินซึ่งเป็นข้อมูลส่วนบุคคลมาใช้ในทางที่ผิด เช่นลักลอบ เข้าสู่ระบบฐานข้อมูลบัญชีเงินฝากของธนาคารเพื่อโอนเงินเข้าบัญชีตนเองการ โทรศัพท์มาแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าที่ของกรมสรรพากรหลอกให้ทาการโอนเงิน จากบัญชีออกไปให้โดยบอกว่าจะทาการคืนเงินภาษีทางระบบอิเล็กทรอนิกส์
  • 5. บริการนาเสนอแบบตามคาขอหรือออนดีมานด์ (on demand) เป็น การเข้าถึงข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา เช่น การเลือกชม รายการโทรทัศน์ หรือฟังรายการวิทยุ ตามตารางที่ทางสถานีกาหนดไว้ ล่วงหน้า การศึกษาออนดีมานด์(education on demand) เป็ น การเปิ ด เว็ บ ไซต์ ข อง สถาบั น การศึ ก ษา ณ ที่ ใ ด เวลาใดก็ ได้ แล้วเลือกวิชาเรียน บทเรี ยนได้ ซึ่ ง เป็นลักษณะหนึ่งของอีเลิร์นนิง (e-Learning)
  • 6. การได้รับเทคโนโลยีมากเกินไป (technology overload) การพัฒนา ของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว โดยมีรูปแบบที่หลากหลายทา ให้น่าสนใจ และสะดวกในการเข้าถึง สิ่งเหล่านี้เป็นแรงดึงดูดให้บุคคลเกิด ความลุ่มหลงจนเกิดเป็นอาการติดเทคโนโลยี
  • 7. เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารส่ ง ผลให้ เ กิ ด สั ง คม โลกาภิวัฒน์ (globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่ส่ง กระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่ เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแส การหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ระบบ เศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
  • 9. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น ระบบป้ อ งกั น การกั ด เซาะชายฝั่ ง โดยใช้ ภ าพถ่ า ย ดาวเที ย ม หรื อ ภาพถ่ า ยทางอากาศร่ ว มกั บ การจั ด เก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล ระดั บ น้ าทะเล ความสู ง ของคลื่ น จากระบบเรดาร์ เป็ น การศึ ก ษาเพื่ อ หา สาเหตุ และน าข้ อ มู ล มาวางแผนและสร้ า งระบบเพื่ อ ป้ อ งกั น การกั ด เซาะ ชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ในรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม (hybrid engine) เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมก็ต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อการควบคุมให้เครื่องยนต์ลดการ เผาไหม้ น้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง เป็ น การช่ ว ยลดมลภาวะจากก๊ า ซไนโตรเจน ออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ที่ทาให้เกิดภาวะ โลกร้อน
  • 11. ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ เครื่องพิมพ์ ที่เสียหรือไม่ใช้งานแล้ว รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่ถูก ทิ้งเป็นขยะ ซึ่งต่างจากขยะทั่วไป โดยในขยะอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นหนึ่งๆ มี ส่วนประกอบที่เป็นโลหะและพลาสติก รวมถึงวัสดุอื่นๆ ที่ประกอบกันอย่าง ซับซ้อน ยากต่อการแยกออกมา โดยเฉพาะในแผงวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ มี รายงานพบว่ าขยะเหล่ า นี้ น อกจากจะมี ป ริ มาณเพิ่ มขึ้ น มากอย่ า งรวดเร็ ว แล้ว ยังปลดปล่อยสารพิษปะปนเข้าสู่สิ่งแวดล้อม การจะแยกชิ้นส่วนขยะ อิเล็กทรอนิกส์แล้วนากลับมาหลอมใช้ใหม่ หรือรีไซเคิล จึงทาได้ยาก มากกว่าขยะทั่วไป เพราะต้องมีขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงต้องมีการศึกษา อย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญและต้องจัดการอย่างมีระบบ ดังนั้นจึงควรใช้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ให้คุ้มค่า จะซื้อใหม่เมื่ออุปกรณ์นั้นไม่สามารถ ซ่อมแซมได้แล้ว และไม่เปลี่ยนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บ่อยๆ ตามกระแสนิยม